Page 26 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 26
7. สนับสนุนและส่งเสริมองค์กรส่วนปกครองท้องถิ่นในการเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ และประเมิน
สินค้าและการให้บริการ
8. สนับสนุนให้มีการตรวจสอบการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพต่อสาธารณะ รวมทั้งปลูกฝัง
จริยธรรมของการเป็นสื่อมวลชนที่ดี และมีความรับผิดชอบต่อการโฆษณาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
2.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
1. กฎหมายพื้นฐานของการคุ้มครองผู้บริโภค 3 ฉบับ ได้แก่
o พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
o พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
o พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551
2. กฎหมายผลิตภัณฑ์สุขภาพ 11 ฉบับ ได้แก ่
o พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 (พ.ร.บ. อาหาร)
o พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 (พ.ร.บ. ยา)
o พระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พ.ศ. 2558 (พ.ร.บ. เครื่องส าอาง)
o พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ. เครื่องมือแพทย์)
o พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ)
o พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 (พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต
และประสาท)
o พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.วัตถุอันตราย)
o พระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 (พ.ร.ก. สารระเหย)
o พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ. 2560
์
o พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545
่
3. กฎหมายบริการสุขภาพ 2 ฉบับ ได้แก
o พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
o พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559
เพอเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ การเผยแพร่เนื้อหาที่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายทั้ง 3 ส่วนจะ
ื่
ช่วยให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองตนเองจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพมาก
ยิ่งขึ้น สาระส าคัญของกฎหมายต่าง ๆ จะเป็นข้อมูลพื้นฐานส าคัญที่ใช้ในการปกป้องผู้บริโภคจากอันตราย และ
ผู้บริโภคสามารถจัดการปัญหาเมื่อถูกละเมิดสิทธิทั้งจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ดังนั้นใน
13