Page 21 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 21
กลุ่มผู้บริโภค ประเภทผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ
กรรมกร/ผู้ใช ้ ยาแก้ปวดเมื่อย เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน
แรงงาน
พนักงานขับ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยากระตุ้นประสาทบ้า ยาแก้ปวดเมื่อย เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน
รถยนต์
นักธุรกิจ ยานอนหลับ ยาคลายเครียด ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์
ข้าราชการ ยานอนหลับ ยาคลายเครียด เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม ลดน้ าหนัก กระชับ
สัดส่วน
วัยสูงอายุ ยานอนหลับ ยาคลายเครียด ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ
โดยสรุปการศึกษาเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคทางเภสัชสาธารณสุข ควรเริ่มต้นจากการท าความเข้าใจ
ค าจ ากัดความ ค านิยามของค าว่า การคุ้มครองผู้บริโภคโดยเฉพาะทางเภสัชสาธารณสุข และขอบเขตของงาน
ด้านดังกล่าว ซึ่งครอบคลุม 2 ประเด็น คือ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้แก่ อาหาร ยา
ั
เครื่องส าอาง เครื่องมือแพทย์ ยาเสพติดให้โทษ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท วัตถุอนตราย และสาร
ื่
ระเหย และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ได้แก่ สถานพยาบาล และสถานประกอบการเพอสุขภาพ
นอกจากนี้ ผู้ศึกษาหรือสนใจด้านนี้ยังต้องเรียนรู้ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครอง
ิ
ผู้บริโภค พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พระราชบัญญัติวิธีพจารณาคดีผู้บริโภค พระราชบัญญัติ
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พระราชบัญญัติอาหาร พระราชบัญญัติยา
พระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติ
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พระราชบัญญัติวัตถุอนตราย พระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย
ั
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพอสุขภาพ และเพอให้รู้ว่าควรด าเนินการ
ื่
ื่
คุ้มครองผู้บริโภคแต่ละกลุ่มในเรื่องใด จึงต้องรู้ว่าแต่ละกลุ่มผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในเรื่อง
ใดบ้าง รายละเอียดในแต่ละประเด็นจะอธิบายต่อในบทต่อ ๆ ไป
เป้าหมายของการคุ้มครองผู้บริโภค คือ การท าให้ผู้บริโภคเข้าใจสิทธิของตนเอง สามารถรักษาสิทธิ
ึ
ของตนเอง เข้าใจกฎหมายในการคุ้มครองตนในฐานะผู้บริโภค สามารถเข้าถงข้อมูลข่าวสารที่ดีและเพียงพอต่อ
การเลือกซื้อสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ โดยไม่หลงเชื่อโฆษณา อ่านฉลากก่อนซื้อให้รอบคอบก่อนการ
ตัดสินใจ และสามารถร้องเรียนเมื่อได้รับความเสียหายได้อย่างถูกต้อง
สรุปความเชื่อมโยงในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านเภสัชสาธารณสุขได้ดังรูปที่ 1-1 นอกจากนี้ยังมีองค์กร
ื่
ื่
อน ๆ ที่มีบทบาทดังกล่าวอก ได้แก่ องค์กรผู้บริโภค เช่น มูลนิธิเพอผู้บริโภค สภาทนายความ ผู้ดูแลกฎหมาย
ี
ท้องถิ่น และหน่วยงานด้านวิชาการ เช่น แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.)
ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
8