Page 24 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 24

2. ต้องมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจจะลักษณะ กล่าวคือ ต้องมีการบังคับอย่างจริงจัง หากผู้ใดฝ่าฝืน
                  ต้องได้รับโทษ ต่างจากแบบแผนบางอย่างที่ไม่มีลักษณะการบังคับจริงจัง เช่น มารยาท เป็นต้น


                                                                                        ั
                         กฎหมายแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อกษร และกฎหมายที่มิได้
                  บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร


                         2.1.2 กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร

                                                              ุ
                         กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรมีคณลักษณะดังต่อไปนี้

                         1. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เป็นกฎหมายโดยแท้ ออกโดยองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง โดยใช้
                  กระบวนการทางรัฐสภา


                         2. พระราชก าหนด (พ.ร.ก.) เป็นกฎหมายยกเว้น ออกโดยฝ่ายบริหารประเทศ (ไม่ใช่ฝ่ายนิติบัญญัติซึ่ง
                  มีอ านาจออกกฎหมายโดยตรง) ใช้ในกรณีที่มีสถานการณ์ฉุกเฉินเร่งด่วนตามที่รัฐธรรมนูญก าหนด


                         3. กฎหมายล าดับรอง อันได้แก่
                             o พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) นายกรัฐมนตรีออกโดยความอนุมัติของคณะรัฐมนตรี

                             o กฎกระทรวง รัฐมนตรีว่าการออกโดยความอนุมัติของคณะรัฐมนตรี

                             o ประกาศกระทรวง ออกโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
                             o ข้อบังคับต่าง ๆ


                         4. กฎหมายองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นบัญญัติออกโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรียกว่า
                  “ข้อบัญญัติท้องถิ่น”


                         ล าดับชั้นของกฎหมายลายลักษณ์อักษร

                         ล าดับชั้นของกฎหมาย หมายถึง ล าดับชั้นแห่งระดับการบังคับของกฎหมาย ซึ่งมีขั้นล าดับดังนี้

                         1. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุด กฎหมายอนจะขัดหรือแย้งไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่
                                                               ื่
                  วางโครงสร้างองค์กรของรัฐ และรับรองสิทธิ์ขั้นพื้นฐานของประชาชน

                         2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) พระราชก าหนด (พ.ร.ก.) ล าดับชั้นรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ


                         3. พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) ออกโดยอาศัยอานาจของรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชก าหนด

                  จึงขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชก าหนด ไม่ได้


                         4. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ออกโดยฝ่ายบริหาร (เช่น รัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ) โดยมากใช้
                  ขยายความหรือให้รายละเอียดของพระราชบัญญัติซึ่งเป็นกฎหมายแม่บท


                         5. กฎหมายองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นบัญญัติ






                                                                                                             11
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29