Page 25 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 25

ใ น กรณีที่มีปัญหาว่าพระราชบัญญัติและพระราชก าหนดใดขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ

                  ศาลรัฐธรรมนูญจะเป็นผู้มีอานาจวินิจฉัย กรณีที่กฎหมายล าดับรองหรือกฎหมายองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

                  บัญญัติใดขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือขัดกับกฎหมายใด ศาลที่ใช้กฎหมายนั้นจะเป็นผู้มีอานาจวินิจฉัย
                  ปรับแก้ข้อเท็จจริงนั้น


                         2.1.3 กฎหมายที่ไม่ได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร


                         กฎหมายประเพณี คือ กฎหมายที่ปรากฏอยู่ในรูปจารีตประเพณี แต่ไม่ได้หมายความว่าจารีตประเพณี
                  จารีตประเพณี มี 2 ลักษณะ ได้แก  ่


                         1. มีการประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมาช้านาน

                         2. มีความเชื่อว่าถ้าผู้ใดฝ่าฝืนหรืองดเว้นไม่กระท าตาม จะมีความผิดรุนแรง




                  2.2 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552

                         ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (ราชกิจจานุเบกษา, 2552) จัดท าโดย

                  คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ใช้เป็นกรอบและแนวทางกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการด าเนินงานด้าน

                  สุขภาพของประเทศ ได้บัญญัติเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคไว้ในหมวดที่ 8 ว่ามีความต้องการให้ผู้บริโภคได้รับการ
                  ปกป้องและคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค โดยหากได้รับความเสียหายจากการใช้สินค้าหรือบริการใด ๆ แล้ว

                  ผู้บริโภคจะต้องได้รับการชดเชยเยียวยาที่เหมาะสม ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ได้
                  ก าหนดมาตรการเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคไว้ 8 ประการ ดังนี้


                         1. จัดตั้งองค์กรเพอการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอสระ และออกกฎหมายที่เกี่ยวกับการชดเชยเยียวยา
                                        ื่
                                                                 ิ
                  ผู้เสียหายจากการใช้สินค้าและบริการ

                                                                   ื่
                         2. สนับสนุนให้เกิดการรวมตัวกันของประชาชนเพอด าเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็น
                  ในลักษณะ กลุ่ม ชมรม สมาคม และอื่น ๆ


                         3. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก าหนดนโยบาย วางแผน และติดตามการ
                                                                 ้
                  ด าเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคทั้งในระดับชาติและทองถิ่น

                                                                           ิ
                         4. ควบคุมการจัดบริการสาธารณะให้แก่เด็ก เยาวชน ผู้พการหรือทุพพลภาพ ผู้ด้อยโอกาส และ
                  ผู้สูงอายุได้เข้าถึง


                                                                                                    ื่
                         5. สนับสนุนให้มีระบบการทดสอบมาตรฐานสินค้าและบริการที่ประชาชนมีส่วนร่วม เพอประเมิน
                  ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ความปลอดภัย


                         6. ส่งเสริมการบูรณาการแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืนเข้าไปในนโยบายสาธารณะอื่น ๆ




                                                                                                             12
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30