Page 17 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 17

ู
                         การให้ข้อมลข่าวสาร (education) ได้แก่ การให้ความรู้ที่เกี่ยวกับสินค้าและบริการต่าง ๆ แก่
                  ผู้บริโภคและผู้ผลิตผ่านช่องทางต่าง ๆ


                         การเสริมแรง (encouragement) ได้แก่ การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตได้เข้ามามีส่วนร่วม
                  ในกระบวนการการคุ้มครองผู้บริโภค


                                                                                      ็
                         การเสริมศักยภาพ (empowerment) ได้แก่ การเสริมสร้างความเข้มแขงในการด าเนินงานคุ้มครอง
                  ผู้บริโภคให้กับหน่วยงานหรือภาคีที่เกี่ยวข้อง


                         การเฝ้าระวง (surveillance) ได้แก่ การตรวจสอบและติดตามถึงความปลอดภัยของสินค้าและ
                                    ั
                  บริการหลังจากวางจ าหน่ายในท้องตลาด


                         การควบคุมทางสังคม (social control) ได้แก่ การด าเนินงานโดยกลุ่มหรือองค์กรภาคประชาชนที่
                  คอยตรวจและติดตามความปลอดภัยของสินค้าและบริการที่วางจ าหน่ายในท้องตลาด


                         การคุ้มครองผู้บริโภคด้านเภสัชสาธารณสุขมีขอบเขตที่สามารถจ าแนกออกเป็น 2 ด้านหลัก คือ การ
                  คุ้มครองผู้บริโภคทางด้านบริการสาธารณสุข และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ


                         การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสาธารณสุข นั้นหมายความรวมถึงการคุ้มครองดูแลผู้บริโภคจากการ
                  ใช้บริการใน 4 ด้านต่อไปนี้ คือ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟนฟูสุขภาพ
                                                                                                    ื้

                         การสร้างเสริมสุขภาพ

                                                                                                   ิ่
                                                              ิ่
                         การสร้างเสริมสุขภาพ คือ กระบวนการเพมสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถเพมขึ้นในการ
                                                                ื่
                  ควบคุมและการสร้างเสริมใหสุขภาพของตนเองดีขึ้น เพอบรรลุสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และ
                  ปัญญา ทั้งระดับปัจเจกบุคคลและระดับกลุ่มบุคคล โดยมุ่งเน้นการท าให้ทุกคนเข้าใจสุขภาพของตนเอง เรียนรู้

                      ั
                  จะพฒนาสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น และสามารถเปลี่ยนแปลงหรือปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจาก
                  เรื่องสุขภาพเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับชีวิตประจ าวันในทุก ๆ วัน การสร้างเสริมสุขภาพจึงให้ความส าคัญกับตัว

                  บุคคล และสังคมที่บุคคลอาศัยอยู่ ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพจึงมิใช่เป็นความรับผิดชอบขององค์กรในภาค

                  สาธารณสุขเท่านั้น หากรวมถึงความรับผิดชอบของการมีชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีของทุกคน ซึ่งจะน าไปสู่สุข
                  ภาวะโดยรวมของสังคม


                         การป้องกันโรค

                         การป้องกันโรค หมายถึง การขจัดหรือยับยั้งพฒนาการของโรค รวมถึงการประเมินและการรักษา
                                                                 ั
                  เฉพาะ เพอจัดโรคหรือปัญหาสุขภาพในทุกระยะ (Edelman and Mandle, 1994) การป้องกันโรคแบ่งได้เป็น
                          ื่
                  3 ระดับ ดังนี้


                         การป้องกันโรคระดับแรก (primary prevention) หมายถึง การส่งเสริมสุขภาพโดยทั่วไปรวมถึง
                                                                                                         ั
                  การปกป้องและต่อต้านการเกิดโรค ได้แก่ การให้สุขศึกษา การรับประทานอาหารเหมาะสมตามวัย การพฒนา



                                                                                                              4
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22