Page 15 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 15
ิ
มีอสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ สิทธิที่จะ
ได้รับความเป็นธรรมในการท าสัญญา และสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
เมื่อผู้บริโภคถูกละเมิดสิทธิหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนได้ที่หน่วยงานของรัฐที่ดูแล
เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ส านักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา (อย.) สภาวิชาชีพต่าง ๆ และกระทรวงพาณิชย์ เป็นต้น ในปีงบประมาณ 2563 (ตุลาคม พ.ศ.
2562 – กันยายน พ.ศ. 2563) ที่ผ่านมาส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้รับข้อร้องเรียนจาก
ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพจ านวนทั้งสิ้น 2,249 ครั้ง ประเด็นที่มีการร้องเรียนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ โฆษณา
อาหารเกินจริงและโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต โฆษณาเครื่องมือแพทย์ โฆษณาขายยาออนไลน์โดยไม่ได้รับ
อนุญาต โฆษณาเครื่องส าอางที่ท าให้เข้าใจผิดในสารส าคัญ และคุณภาพอาหาร เสียก่อนวันหมดอายุ พบมีสาร
ปนเปื้อน พบสิ่งแปลกปลอด (ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค, 2563) จากข้อมูลสถิติดังกล่าวจะเห็น
ได้ว่ามีเรื่องร้องเรียนเนื่องจากการใช้สินค้าและบริการจ านวนมาก ในฐานะที่เราเป็นผู้บริโภคจึงควรมีความรู้
เกี่ยวกับสิทธิในการบริโภคที่ควรได้รับ
ื่
เพอเน้นความส าคัญของสิทธิผู้บริโภคและการคุ้มครองผู้บริโภคภายใต้ระบบทุนนิยมที่ท าให้ผู้บริโภคม ี
โอกาสถูกละเมิดสิทธิมากขึ้น ประเทศไทยได้ก าหนดให้วันที่ 30 เมษายนของทุกปีเป็น “วันคุ้มครองผู้บริโภค”
เพื่อสร้างความตระหนักแก่ผู้บริโภค และหน่วยงานต่าง ๆ ที่ดูแลการคุ้มครองผู้บริโภคให้มากยิ่งขึ้น
1.2 ค านิยาม ค าศัพท์ ในการคุ้มครองผู้บริโภค
ค านิยาม ค าศัพท์ที่ส าคัญและเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก ่
ผู้บริโภค (Consumer) หมายถึง บุคคลหรือใครก็ตามที่รับประทานหรือใช้สินค้าหรือบริการต่าง ๆ
ื่
กล่าวคือ ผู้ที่ซื้อมาใช้ ผู้กิน ผู้เสพ ผู้ใช้สอย ผู้น ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพอตอบสนองความต้องการของตนเอง
ทั้งทางด้านร่างกายและทางด้านจิตใจ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้ให้ค านิยามค าว่า
“ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวน
จากผู้ประกอบธุรกิจเพอให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้
ื่
ประกอบธุรกิจโดยชอบแม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม (ราชกิจจานุเบกษา, 2522a)
การคุ้มครอง (protection) หมายความถึง การป้องกัน ปกป้อง ระวัง ดูแล พทักษ์รักษา ให้การ
ิ
อารักขา กันไว้ไม่ให้เกิดภัยอันตราย บาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหาย
ื้
การส่งเสริม (promotion) หมายความถึง การเกื้อหนุน หนุนหลัง เกื้อกูล เออเฟอ เผื่อแผ่ อดหนุน
ุ
ื้
เพิ่มเติม เอาใจช่วย ช่วยเหลืออยู่ข้างหลัง
การป้องกัน (prevention) หมายความถึง การกันเอาไว้ก่อน เพื่อไม่ให้เกิดภัยอันตราย หรือที่รู้จักกัน
ว่าป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้ทีหลัง
2