Page 31 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 31

ร่างกาย สุขภาพ หรืออนามัยของผู้บริโภคโดยส่วนรวม และไม่อาจใช้วิธีป้องกันอย่างอื่นได้ ให้ศาลมีอ านาจออก
                  ค าสั่งดังต่อไปนี้

                                                                                                           ื่
                                                                                      ั
                         (1)  ให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดการประกาศและรับสินค้าดังกล่าวซึ่งอาจเป็นอนตรายคืนจากผู้บริโภคเพอ
                  ท าการแก้ไขหรือเปลี่ยนให้ใหม่ภายในเวลาที่ก าหนดโดยค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบธุรกิจเองแต่ถ้าเป็นกรณีที่ไม่
                  อาจแก้ไขหรือด าเนินการตามที่กล่าวข้างต้นได้ ก็ให้ใช้ราคาตามที่ศาลเห็นสมควรโดยค านึงถึงลักษณะและ

                  สภาพของสินค้าขณะรับคืน รวมทั้งความสุจริตของผู้ประกอบธุรกิจประกอบด้วย
                         (2)  ห้ามผู้ประกอบธุรกิจจ าหน่ายสินค้าทเหลืออยู่และให้เรียกเก็บสินค้าทยังไม่ได้จ าหน่ายแก่ผู้บริโภค
                                                                                      ี่
                                                           ี่
                  กลับคืนจนกว่าจะได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสินค้าดังกล่าวให้มีความปลอดภัย แต่ถ้าเป็นกรณีที่ไม่สามารถแก้ไข

                  เปลี่ยนแปลงได้ ศาลจะมีค าสั่งห้ามผู้ประกอบธุรกิจผลิตหรือน าเข้าสินค้านั้นก็ได้และหากเป็นที่สงสัยว่าผู้
                  ประกอบธุรกิจจะเก็บสินค้าที่เหลือไว้เพอจ าหน่ายต่อไป ให้ศาลมีอานาจสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจท าลายสินค้าที่
                                                   ื่

                  เหลือนั้นด้วย

                         2.3.3 พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

                  พ.ศ. 2551


                          “สินค้า” หมายความว่า สังหาริมทรัพย์ทุกชนิดที่ผลิตหรือน าเข้าเพอขาย รวมทั้งผลิตผลเกษตรกรรม
                                                                                 ื่
                  และให้หมายความรวมถึงกระแสไฟฟ้า ยกเว้นสินค้าตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

                         “ผู้เสียหาย” หมายความว่า ผู้ได้รับความเสียหายอันเกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

                         “ความเสียหาย” หมายความว่า ความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยไม่ว่าจะเป็นความเสียหาย

                  ต่อชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ หรือทรัพย์สิน ทั้งนี้ไม่รวมถึงความเสียหายต่อตัวสินค้าที่ไม่ปลอดภัยนั้น

                         “ความเสียหายต่อจิตใจ” หมายความว่า ความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน ความหวาดกลัว ความวิตก

                  กังวล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอับอาย หรือความเสียหายต่อจิตใจอย่างอื่นที่มีลักษณะท านองเดียวกัน

                                   ่
                         “สินค้าที่ไมปลอดภัย” หมายความว่า สินค้าที่ก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ไม่ว่าจะเป็น
                  เพราะเหตุจากความบกพร่องในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไม่ได้ก าหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา ค าเตือน หรือ

                  ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า หรือก าหนดไว้แต่ไม่ถูกต้องหรือไม่ชัดเจนตามสมควร ทั้งนี้ โดยค านึงถึงสภาพของสินค้า
                  รวมทั้งลักษณะการใช้งานและการเก็บรักษาตามปกติธรรมดาของสินค้าอันพึงคาดหมายได้

                         “ผู้ประกอบการ” หมายความว่า

                         (1)  ผู้ผลิตหรือผู้ว่าจ้างให้ผลิต

                         (2)  ผู้น าเข้า
                         (3)  ผู้ขายสินค้าที่ไม่สามารถระบุตัวผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือผู้น าเข้าได้

                                                                                                          ั
                         (4)  ผู้ซึ่งใช้ชื่อ ชื่อทางการค้า เครื่องหมายการค้า เครื่องหมาย ข้อความหรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ อนมี
                  ลักษณะที่จะท าให้เกิดความเข้าใจได้ว่าเป็นผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือผู้น าเข้า




                                                                                                             18
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36