Page 35 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 35
ไม่หมายความรวมถึง
ก. วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้ในการเกษตร หรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ
ข. วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้เป็นอาหารส าหรับมนุษย์ เครื่องกีฬา เครื่องมือ เครื่องใช้ในการส่งเสริม
สุขภาพเครื่องส าอาง หรือเครื่องมือ และส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพ
เวชกรรม
ค. วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้ในห้องวิทยาศาสตร์ส าหรับการวิจัย การวิเคราะห์ หรือการชันสูตรโรคซึ่ง
มิได้กระท าโดยตรงต่อร่างกายของมนุษย์
“ฉลากยา” หมายความรวมถง รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใด ๆ ซึ่งแสดงไว้ที่ภาชนะ
ึ
หรือหีบห่อบรรจุยา
“เอกสารก ากับยา” หมายความรวมถึง กระดาษหรือวัตถุอื่นใดที่ท าให้ปรากฏความหมายด้วยรูป รอย
ประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใด ๆ เกี่ยวกับยาที่สอดแทรกหรือรวมไว้กับภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยา
มาตรา 25(3) ยาต้องมีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนต ารับยาผนึกไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยา และใน
ฉลากต้องแสดง
(1) ชื่อยา
(2) เลขที่หรือรหัสใบส าคัญการขึ้นทะเบียนต ารับยา
(3) ปริมาณของยาที่บรรจุ
(4) ชื่อและปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ ที่มา : https://www.bing.com/images/search?view
อันเป็นส่วนประกอบ
และที่ส าคัญรายละเอียดของยาจะต้องตรงตามที่ขึ้นทะเบียนต ารับยา อันได้แก่
(1) เลขที่หรืออักษรแสดงครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์ยา
(2) ชื่อผู้ผลิตยาและจังหวัดที่ตั้งสถานที่ผลิตยา
(3) วัน เดือน ปี ที่ผลิตยา
ั
ิ
(4) ค าว่า “ยาอนตราย” “ยาควบคุมพเศษ” “ยาใช้ภายนอก” หรือ “ยาใช้เฉพาะที่” แล้วแต่กรณี
ด้วยอักษรสีแดงเห็นได้ชัด ในกรณีเป็นยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้ภายนอก หรือยาใช้เฉพาะที่
(5) ค าว่า “ยาสามัญประจ าบ้าน” ในกรณีที่เป็นยาสามัญประจ าบ้าน
(6) ค าว่า “ยาส าหรับสัตว์” ในกรณีที่เป็นยาส าหรับสัตว์
(7) ค าว่า “ยาสิ้นอายุ” และแสดงวัน เดือน ปี ที่ยาสิ้นอายุ
ใช้ฉลากและเอกสารก ากับยาตามที่ได้ขึ้นทะเบียนต ารับยาไว้ และข้อความในฉลากและเอกสารก ากับ
ยาต้องอ่านได้ชัดเจน เอกสารก ากับยา ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศต้องมีค าแปลเป็นภาษาไทยด้วย และต้องจัดให้
มีค าเตือนการใช้ยาไว้ในฉลากและที่เอกสารก ากับยา
22