Page 40 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 40
ื่
ตาส่วนหน้าของมนุษย์เพอท าให้เกิดและรักษาช่องว่างให้ยังคงไว้ ปกป้องเยื่อภายในลูกตา (intra-ocular
tissue) และควบคุมรักษาเนื้อเยื่อ ทั้งนี้ต้องถูกดูดออกก่อนกระบวนการผ่าตัดเสร็จสิ้น
3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป
เครื่องมือแพทย์ชนิดนี้ไม่ต้องรับใบอนุญาตหรือแจ้งรายการละเอยด เครื่องมือแพทย์ทั่วไปได้แก่ เตียง
ี
ั
ิ
ั
ผู้ป่วย เครื่องสลายนิ่ว เครื่องกรอฟน ผ้าพนแผล กระบอกฉีดอซูลินที่มีความแรง 40 หน่วย และ 100 หน่วย
กระบอกฉีดยาผ่านผิวหนังปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว เป็นต้น
2.4.5 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ)
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตินี้ คือ เนื่องจากสภาพปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ใน
ปัจจุบันนับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาเป็น
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2564 (ราชกิจจานุเบกษา, 2564b) เนื่องจากกฎหมาย
ปัจจุบันมีบทบัญญัติบางส่วน ที่ก าหนดว่าบุคคลใดซึ่งกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 1
ประเภท 2 ประเภท 4 และประเภท 5 โดยมียาเสพติดให้โทษเกินปริมาณทก าหนดไว้ ให้ถือเป็นเด็ดขาดว่าผู้นั้น
ี่
ิ
ื่
กระท าเพอจ าหน่าย โดยไม่ได้เปิดโอกาสให้พจารณาจากพฤติการณ์หรือค านึงถึงเจตนาที่แท้จริงของผู้กระท า
ิ
ความผิดและไม่ได้ให้สิทธิ ผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการพสูจน์ความจริงในคดี สมควรแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติ
ื่
ี
ดังกล่าวให้มีลักษณะเป็นเพยง ข้อสันนิษฐาน เพอให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีโอกาสพิสูจน์ความจริงได้ นอกจากนี้
อัตราโทษส าหรับความผิดเกี่ยวกับ การผลิต น าเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ที่ก าหนดโทษ
ให้จ าคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ หนึ่งล้านบาทถึงห้าล้านบาท หรือประหารชีวิต ยังไม่เหมาะสม สมควรแก้ไข
ปรับปรุงบทก าหนดโทษดังกล่าว เพื่อให้การลงโทษผู้กระท าความผิดมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ในปี พ.ศ. 2562 มี
ิ่
การแก้ไขเพมเติมมาตรการในการควบคุมยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ื
และสอดคล้องตามหลักสากล เนื่องจากปรากฏผลการวิจัยว่าสารสกัดจากกัญชาและพชกระท่อมมีประโยชน์
ื่
ทางการแพทย์เป็นอย่างมาก เพอเปิดโอกาสให้สามารถน ากัญชาและพชกระท่อมไปท าการศึกษาวิจัยและ
ื
พัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถ น าไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์
ื
ได้ และในปี 2564 มีการประกาศยกเลิกพชกระท่อมออกจากการเป็นยาเสพติดให้โทษ สาระส าคัญที่ผู้บริโภค
ควรทราบมีดังนี้
“ยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดย
รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วท าให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ ในลักษณะส าคัญ เช่น
ต้องเพมขนาดการเสพเรื่อย ๆ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่าง
ิ่
รุนแรงอยู่ตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติด
ให้โทษดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจ าบ้าน
บางต ารับตามกฎหมายว่าด้วย ยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่
27