Page 44 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 44

พ.ศ. 2518 และมีความไม่ทันสมัยหลายประการ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จึงได้ให้ความเห็นชอบกฎหมายวัตถุที่
                  ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทฉบับใหม่นี้ โดยปรับปรุงเนื้อหาในหลายส่วน อาทิเช่น องค์ประกอบของคณะกรรมการ

                  วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท การขออนุญาต และการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ

                  ประสาท หน้าที่ของผู้รับอนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณา และอานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
                                                 ั
                  รวมถึงปรับปรุงบทก าหนดโทษและอตราค่าธรรมเนียมให้เหมาะสมยิ่งขึ้น สาระส าคัญที่ผู้บริโภคควรทราบมี
                  ดังนี้ (ราชกิจจานุเบกษา, 2559b)

                         “วตถุออกฤทธิ์” หมายความว่า วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นสิ่งธรรมชาติหรือที่ได้จากสิ่ง
                            ั
                  ธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นวัตถุสังเคราะห์ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศ

                            ั
                         “วตถุต ารับ” หมายความว่า สิ่งปรุงไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยู่ด้วย ทั้งนี้ รวมทั้ง
                  วัตถุออกฤทธิ์ที่มีลักษณะเป็นวัตถุส าเร็จรูปทางเภสัชกรรมซึ่งพร้อมที่จะน าไปใช้แก่คนหรือสัตว์ได้

                         “วตถุต ารับยกเวน” หมายความว่า วัตถุต ารับที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดให้ได้รับการยกเว้นจาก
                            ั
                                        ้
                  มาตรการควบคุมบางประการส าหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุต ารับนั้น

                         วัตถุออกฤทธิ์แบ่งเป็น 4 ประเภทตามระดับอนตรายจากการใช้และประโยชน์ที่ได้จากทางการแพทย์
                                                               ั
                  คือ
                         ก. ประเภท 1 วัตถุออกฤทธิ์ที่ไม่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อให้เกิดการน าไปใช้หรือมีแนวโน้มใน

                  การน าไปใช้ในทางที่ผิดสูง

                         ข. ประเภท 2 วัตถุออกฤทธิ์ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อให้เกิดการน าไปใช้หรือมีแนวโน้มในการ
                  น าไปใช้ในทางที่ผิดสูง

                         ค. ประเภท 3 วัตถุออกฤทธิ์ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อให้เกิดการน าไปใช้หรือมีแนวโน้มในการ
                  น าไปใช้ในทางที่ผิด

                         ง. ประเภท 4 วัตถุออกฤทธิ์ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อให้เกิดการน าไปใช้หรือมีแนวโน้มในการ

                  น าไปใช้ในทางที่ผิดน้อยกว่าประเภท 3

                         อาการเมื่อติดวัตถุออกฤทธิ์

                         (1)  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 1 เกิดอาการประสาทหลอน การท างานของระบบประสาทส่วนกลาง
                  เปลี่ยนแปลง ระบบสัมผัส ความรู้สึกนึกคิด อารมณ์เปลี่ยนแปลง ม่านตาขยาย ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว

                         (2)  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2 จะมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ท าให้อาการซึมเศร้าลดลง
                                                                          ี
                  กระตุ้นการหายใจ ลดความอยากอาหาร แต่ผลของการกระตุ้นมีเพยงระยะสั้น แล้วจะตามด้วยการกดอย่าง
                  รุนแรง ท าให้ต้องใช้ยาบ่อย ๆ และเมื่อใช้เป็นเวลานาน จะมีอาการดื้อยาและติดยาตามมา บางตัวจะมีฤทธิ์กด

                  การท างานของระบบประสาทส่วนกลาง ท าให้หลับ เมื่อใช้นาน ๆ จะมีอาการดื้อยาและการติดยาได้เช่นกัน
                  และหากใช้ยาเกินขนาดอาจท าให้หมดสติ หายใจช้า ความดันโลหิตต่ า






                                                                                                             31
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49