Page 46 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 46

ถ้าการกระท าตามวรรคหนึ่ง เป็นการกระท าโดยใช้ก าลังประทุษร้าย หรือโดยใช้อาวุธ ผู้กระท าต้อง
                  ระวางโทษจ าคุกตั้งแต่ 1 ปี – 10 ปี และปรับตั้งแต่ 100,000 – 1,000,000 บาท


                         ถ้าการกระท าตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นการกระท าต่อหญิงหรือต่อบุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
                                     ื่
                                                ื่
                                                                                                      ื่
                  หรือเป็นการกระท าเพอจูงใจให้ผู้อนกระท าความผิดทางอาญาหรือเพอประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อนในการ
                                                                             ื่
                  กระท าความผิดทางอาญา ผู้กระท าต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่ 3 ปี – จ าคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่ 300,000
                  – 5,000,000 บาท

                         2.4.7 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.วัตถุอันตราย)


                                                 ิ
                         เดิมมีกฎหมายว่าด้วยวัตถุมีพษ และเห็นสมควรปรับปรุงเพอให้สอดคล้องกับอนตรายที่ได้รับจากวัตถุ
                                                                                          ั
                                                                          ื่
                                                                                        ั
                  ดังกล่าว ทางรัฐสภาจึงมีหน้าที่บัญญัติพระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติวัตถุอนตราย พ.ศ. 2535 และ
                                  ิ่
                                                                    ั
                  ต่อมามีการแก้ไขเพมเติมสาระส าคัญในพระราชบัญญัติวัตถุอนตราย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มีดังนี้ (ราชกิจจา
                  นุเบกษา, 2562c)
                         “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้
                         (1)  วัตถุระเบิดได้

                         (2)  วัตถุไวไฟ

                         (3)  วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
                         (4)  วัตถุมีพิษ

                         (5)  วัตถุที่ท าให้เกิดโรค
                         (6)  วัตถุกัมมันตรังสี

                         (7)  วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

                         (8)  วัตถุกัดกร่อน
                         (9)  วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

                                                                                                           ื
                                       ื่
                                                                                      ั
                         (10) วัตถุอย่างอน ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอนใด ที่อาจท าให้เกิดอนตราย แก่บุคคล สัตว์ พช
                                                                   ื่
                  ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
                         วัตถุอันตรายแบ่งออกตามความจ าเป็นแก่การควบคุม ดังนี้

                                  ั
                         (1)  วัตถุอนตรายชนิดที่ 1 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
                                                           ั

                  ครอบครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนด
                         (2)  วัตถุอนตรายชนิดที่ 2 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
                                  ั
                                                           ั
                                                         ่
                  ครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบกอนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ก าหนดด้วย
                                  ั
                                                           ั
                         (3)  วัตถุอนตรายชนิดที่ 3 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ใน
                  ครอบครองต้องรับใบอนุญาต





                                                                                                             33
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51