Page 48 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 48

(6)  ผลิตภัณฑ์ลบค าผิด
                         (7)  ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ท าความสะอาดพื้น ฝาผนัง และเครื่องสุขภัณฑ
                                                                               ์
                         (8)  ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก้ไขในการอดตันของท่อหรือทางระบายสิ่ง
                                                      ุ
                  ปฏิกูล

                         (9)  สีย้อม                                                ที่มา : www.whiteandbluefragrance.com

                         (10) ผลิตภัณฑ์ก าจัดเหา
                         (11) ลูกเหม็น

                         (12) ก้อนดับกลิ่น

                         (13) ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว ใช้ประโยชน์ในการซักฟอกเสื้อผ้าและสิ่งทอ
                         (14) ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคในสระน้ า ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส ในสระว่าย

                  น้ า

                                                                                                    ั
                                     ั
                         ขึ้นชื่อว่าวัตถุอนตรายนั้น ถ้าใช้ด้วยความประมาทขาดความระมัดระวังก็อาจก่อให้เกิดอนตรายต่อ
                                                         ั
                  ร่างกายถึงชีวิตได้ ฉะนั้นก่อนใช้ผลิตภัณฑ์วัตถุอนตราย ควรอานวิธีการใช้ ค าแนะน า และค าเตือนก่อนใช้และ
                                                                     ่
                  เก็บในที่มิดชิด พ้นมือเด็ก ก็สามารถช่วยให้ใช้วัตถุอันตรายได้อย่างปลอดภัย

                         2.4.8 พระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 (พ.ร.ก. สารระเหย)

                         ปัจจุบันได้มีการน าสารระเหยหรือวัตถุหรือผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูปมีสารระเหยผสมหรือเจือปนอยู่ ซึ่งผลิต

                                                                             ั
                                                   ื่
                                                                       ื่
                                 ุ
                  ขึ้นเพอใช้ในทางอตสาหกรรมหรือทางอนไปใช้สูด ดม หรือวิธีอนใด อนก่อให้เกิดอนตรายอย่างมากแก่ผู้สูด
                       ื่
                                                                                        ั
                  ดม โดยเฉพาะเยาวชน ประกอบกับยังไม่มีกฎหมายใช้บังคับแก่สารระเหยโดยเฉพาะ สมควรที่จะด าเนินการ
                  ป้องกันการใช้สารระเหยไปในทางที่ไม่ถูกต้อง และโดยที่เป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจ าเป็นรีบด่วนในอนที่จะ
                                                                                                       ั
                  รักษาความปลอดภัยสาธารณะ จึงจ าเป็นต้องตราพระราชก าหนดนี้ สาระส าคัญของพระราชก าหนดป้องกัน
                  การใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 มีดังนี้ (ราชกิจจานุเบกษา, 2533)

                         “สารระเหย” หมายความว่า สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ

                  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอตสาหกรรมประกาศว่าเป็นสารระเหย เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวยาง และลูกโป่ง
                                        ุ
                                                                         ่
                  วิทยาศาสตร์ รวมถึงตัวท าละลายในผลิตภัณฑ์นานาชนิด เช่น สีพน กาววิทยาศาสตร์ น้ ายาล้างเล็บ น้ ายาลบ
                  ค าผิด เป็นต้น

                         สารระเหย คือ สารประกอบอนทรีย์เคมีประเภทไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) ที่ได้มาจากน้ ามัน
                                                   ิ
                  ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ เป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิปกติ ลักษณะทางกายภาพ สารระเหยเกือบทุก

                  ชนิดเป็นของเหลว มีกลิ่นเฉพาะตัว หรือกลิ่นหอม ระเหยได้ดี มีความหนืดต่ าค่าแรงตึงผิวต่ า บางตัวติดไฟได้
                  เช่น toluene, ethyl acetate, acetone และ methyl ethyl ketone เป็นต้น ส่วนมากมักไม่มีสี ใส ไม่มี

                  ตะกอน ค่าความดันไอต่อละลายในน้ าได้ไม่ดี แต่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน





                                                                                                             35
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53