Page 50 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 50

2.4.9 พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

                         เหตุผลที่มาของกฎหมายนี้ โดยที่พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 และ

                  พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน และมีบทบัญญัติหลาย

                  ประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งท าให้การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและ การคุ้มครองสุขภาพของ
                  ประชาชนจากโรคภัยที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ยาสูบไม่สัมฤทธิ์ผลเท่าที่ควร ประกอบกับประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี

                  ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก ดังนั้นสมควรปรับปรุงกฎหมายทั้งสอง
                         ื่
                  ฉบับ เพอก าหนดมาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและยกระดับการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของประชาชน
                  โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรที่ส าคัญของชาติให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และให้สอดคล้องกับกรอบ

                  อนุสัญญาดังกล่าว จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ (ราชกิจจานุเบกษา, 2560a)

                                                                                               ื
                                    ์
                         “ผลิตภัณฑยาสูบ” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของใบยาสูบหรือพชนิโคเทียนา ทา
                                                                            ื่
                  แบกกุ้ม (Nicotiana tabacum) และให้หมายความรวมถึงผลิตภัณฑ์อนใดที่มีสารนิโคตินเป็นส่วนประกอบ ซึ่ง
                                                            ่
                  บริโภคโดยวิธีสูบ ดูด ดม อม เคี้ยว กิน เป่า หรือพนเข้าไปในปากหรือจมูก ทา หรือโดยวิธีอนใด เพอให้ได้ผล
                                                                                                     ื่
                                                                                              ื่
                  เป็นเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ไม่รวมถึงยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
                         “หีบห่อ” หมายความว่า ซอง ห่อ หรือสิ่งบรรจุอื่นซึ่งใช้ในการหุ้มห่อบรรจุผลิตภัณฑ์ยาสูบ


                         “โฆษณา” หมายความว่า การกระท าไม่ว่าโดยวิธีใดๆ ให้ประชาชนเห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความ
                  เพื่อประโยชน์ในทางการค้า


                         “สูบบุหรี่” หมายความรวมถึง การกระท าใดๆ ซึ่งมีผลท าให้เกิดควันหรือไอระเหยจากผลิตภัณฑ์ยาสูบ
                  หรือการครอบครองผลิตภัณฑ์ยาสูบขณะเกิดควันหรือไอระเหย


                         “เขตปลอดบุหรี่” หมายความว่า บริเวณที่ห้ามสูบบุหรี่

                         “เขตสูบบุหรี่” หมายความว่า บริเวณที่จัดไว้ให้เป็นที่สูบบุหรี่ภายในเขตปลอดบุหรี่

                         “สถานที่สาธารณะ” หมายความว่า สถานที่ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะ

                  มีการเชื้อเชิญหรือต้องจ่ายค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

                         “สถานที่ท างาน” หมายความว่า สถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอนของรัฐ และสถาน
                                                                                           ื่
                  ประกอบการ ของเอกชนหรือสถานที่ใด ๆ ที่บุคคลใช้ท างานร่วมกันตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด

                  โดยค าแนะน าของคณะกรรมการ

                         “ยานพาหนะ” หมายความว่า ยานพาหนะสาธารณะ หรือยานพาหนะอนใดที่ใช้ในการรับขนส่ง
                                                                                        ื่
                  บุคคล









                                                                                                             37
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55