Page 43 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 43
การกระท าผิดมีโทษดังนี้
ผู้ผลิต น าเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจ าคุก 1 ปี - 10 ปี และปรับตั้งแต่
10,000 - 100,000 บาท
ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
ผู้ครอบครองเพอจ าหน่าย ต้องระวางโทษจ าคุก 1 ปี – 10 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 – 100,000
ื่
บาท (หมายเหตุ การครอบครองตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไปถือว่าเป็นการมีไว้เพื่อจ าหน่าย)
ี่
ยาเสพติดให้โทษประเภทท 5 เป็นยาเสพติดอื่น ๆ เช่น กัญชา
ww
w.thaihof.org
ห้ามผลิต น าเข้า หรือส่งออก ยกเว้นในกรณีจ าเป็นเพอประโยชน์ทางราชการ การแพทย์ การรักษา
ื่
ั
ื่
ื่
ผู้ป่วย เพอศึกษาวิจัยหรือพฒนา เพอประโยชน์ทางการแพทย์โดยได้รับอนุญาต การใช้ยากัญชงตามที่ก าหนด
ในกฎกระทรวงโดยได้รับอนุญาต หรือการน าติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักรไม่เกินปริมาณที่จ าเป็นส าหรับใช้
รักษาโรคเฉพาะตัวโดยมีใบสั่งยา
การกระท าผิดมีโทษดังนี้
ผู้ผลิต น าเข้า หรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน
ื่
500,000 บาท ถ้าเป็นการกระท าเพอจ าหน่าย ต้องระว างโทษ จ าคุกตั้งแต่ 1-15 ปี และปรับตั้งแต่หนึ่ง
100,000 – 1,500,000 บาท ถ้าเป็นพชกระท่อม ผู้นั้นต้องระว างโทษจ าคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน
ื
200,000 บาท
ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท ถ้า
เป็นพืชกระท่อม ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท
ื่
ผู้ครอบครองเพอจ าหน่าย โดยมีปริมาณไม่ถึง 10 กิโลกรัม ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับ
ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ แต่ถ้ามีปริมาณตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไป ต้องระวางโทษจ าคุก 1 – 15
ื
ื่
ปี และปรับตั้งแต่ 100,000 – 1,500,000 บาท ถ้าเป็นพชกระท่อมผู้ครอบครองเพอจ าหน่ายหากมีปริมาณไม่
ถึง 10 กิโลกรัม ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ หากมีปริมาณ
ตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไป ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท
ผู้เสพ ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท ถ้าเป็นพชกระท่อม ผู้เสพ ต้อง
ื
ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
2.4.6 พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 (พ.ร.บ.วัตถุที่ออก
ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท)
เหตุผลของการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ปัญหาเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทที่ทวี
ความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แต่กฎหมายวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทของไทยฉบับเดิมนั้นประกาศใช้มาตั้งแต่ปี
30