Page 163 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 163
ตัวอย่างของการโฆษณาที่ใช้ข้อความเกินความเป็นจริง เช่น สวยงามที่สุด ทนแดดทนฝนที่สุด
ไม่มียี่ห้อไหนดีกว่านี้อีกแล้ว ที่ทดลองกับสถาบันทั่วโลกมาแล้ว ประหยัดน้ ามันกว่าเดิมถึง 50% ภาพสี
คมชัด 100% ยาเม็ดนี้ท าให้โรคเอดส์หายขาด ติดตั้งโทรศัพท์ทุกหลังทั่วประเทศ ลด 20 กิโลภายใน 1
สัปดาห์ เป็นต้น
โฆษณาต้องไม่เป็นอนตรายต่อสุขภาพและจิตใจและไม่ก่อความร าคาญ ตัวอย่างเช่น ใช้ภาพ
ั
ี
สีสันเวียนหัว บอกขั้นตอนการใช้สินค้าผิดหรือไม่ละเอยด ข้อความดูถูกผู้ชม (ว่าโง่ ไม่ทันสมัย) ใช้
ข้อความก ากวม ไม่เข้าประเด็นของสินค้าเสียที บทพูดหรือการแสดงไม่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าเลยแม้แต่
นิดเดียว ด าเนินเรื่อง พูดเร็ว หรือช้าเกินไป เป็นต้น
กรณีที่เป็นสินค้าควบคุมฉลากและการโฆษณาเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค คณะกรรมการว่าด้วย
การโฆษณา จะให้ก าหนดค าเตือนเกี่ยวกับวิธีใช้ไว้ ดังนี้
o “การดื่มแอลกอฮอล์ ท าให้ความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะลดลง” (รูปที่ 8-1)
o เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน “ห้ามดื่มเกินวันละสองขวด โปรดสังเกตฉลากก่อนดื่มทุกครั้ง”
o การเล่นหุ้น “การลงทุนมีความเสี่ยง โปรดปรึกษาผู้ช านาญก่อนตัดสินใจ”
o “บ้าน ไม่เห็น ไม่ชอบ อย่าซื้อ”
ที่มา : http://www.tnews.co.th/html/read.php?hot_id=8604
รูปที่ 8-1 เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ต้องมการแสดงฉลาก “การดื่มแอลกอฮอล์ท าให้
ี
ความสามารถในการขับขี่ยานพาหนะลดลง”
8.3 การโฆษณาเครื่องส าอาง
เครื่องส าอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากเพราะเป็นสิ่งของที่ถูกใช้ใน
ชีวิตประจ าวัน ท าให้เราพบเห็นการโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องส าอางตลอดเวลา ตามพระราชบัญญัติ
เครื่องส าอาง พ.ศ. 2558 (ราชกิจจานุเบกษา, 2558) ได้ก าหนดความหมายของค าว่าโฆษณาแตกต่าง
ไปเล็กน้อยจากที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และ 2541 และ
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กล่าวคือ
150