Page 158 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 158
7.3 บริการด้านยาและร้านยาคุณภาพ
7.3.1 บริการด้านยา
ยาเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีความส าคัญในการให้บริการสุขภาพ ไม่ว่าจะอยู่ใน
สถานพยาบาลระดับใดก็ต้องมีการใช้ยาในการรักษาพยาบาลเพอให้ผู้มารับบริการหายจากอาการ
ื่
ั
เจ็บป่วย ผู้บริโภคสามารถใช้ยาได้ตามระดับขั้นและอนตรายของยา โดยยาที่สามารถใช้กันได้
โดยทั่วไป และมีความเสี่ยงในการก่ออนตรายน้อย คือ ยาสามัญประจ าบ้าน ซึ่งสามารถหาซื้อได้ตาม
ั
ั
ร้านค้าทั่วไป ส่วนยาที่มีความเสี่ยงในการก่ออนตรายมากกว่าจะถูกจัดจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพเภสัช
กรรมหรือที่เรียกว่า เภสัชกร หรือใช้ในการประกอบในการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล เช่น
โรงพยาบาล ซึ่งกฎหมายก าหนดให้มีแผนกงานเภสัชกรรมดังที่กล่าวไว้ในตอนต้นแล้ว ส าหรับการ
บริการยาในกลุ่มต่าง ๆ จะมีอยู่ที่ร้านยา หรือสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน ซึ่งจะให้บริการด้าน
ยาโดยเภสัชกร เช่น การจ่ายยากลุ่มยาอนตราย การให้ความรู้และค าแนะน าด้านยาและการดูแล
ั
สุขภาพ การบริบาลทางเภสัชกรรม รวมทั้งการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ เป็นต้น
7.3.2 การควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาร่วมกับ สภาเภสัชกรรม ได้จัดท าโครงการพฒนาและ
ั
รับรองคุณภาพร้านยาขึ้น (สภาเภสัชกรรม, 2546) ตั้งแต่ปี 2546 เพอเน้นการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ื่
ยาโดยผู้ประกอบวิชาชีพเป็นผู้ให้บริการชัดเจน มีกระบวนการให้ค าแนะน าด้านยาที่ถูกต้องเหมาะสม
แก่ผู้มารับบริการ มีระบบการให้บริการด้านยาที่ต่อเนื่องส าหรับผู้มารับบริการที่เป็นโรคเรื้อรัง มีการ
จัดระเบียบร้านยาให้ประชาชนสามารถทราบและเข้าใจได้ว่ายาแต่ละรายการเป็นกลุ่มยาใด เช่น ยา
ั
สามัญประจ าบ้านที่ประชาชนสามารถเลือกซื้อได้เอง ยาอนตรายที่ต้องจ่ายโดยเภสัชกร หรือยา
ควบคุมพเศษที่ต้องจ่ายตามใบสั่งแพทย์ เป็นต้น จึงได้ก าหนดมาตรฐานส าหรับร้านยาคุณภาพขึ้น 5
ิ
ด้าน ได้แก ่
ื่
ุ
1. ด้านสถานที่ อปกรณ์ และสิ่งสนับสนุนบริการ เพอให้มีองค์ประกอบทางกายภาพที่
เหมาะสม และสนับสนุนให้เกิดการบริการที่มีคุณภาพ โดยมีการจัดแบ่งพนที่เป็นสัดส่วนที่เพยงพอ
ื้
ี
ื้
และเหมาะสมส าหรับการให้บริการ แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดระหว่างพนที่ที่ต้องปฏิบัติการโดยเภสัช
กรและพนที่บริการอน ๆ มีการจัดหมวดหมู่ของยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการเก็บรักษาที่เออต่อการ
ื่
ื้
ื้
ุ
รักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนต้องจัดหาอปกรณ์ และสิ่งสนับสนุนการให้บริการที่ดีแต่
ประชาชน
2. ด้านการบริหารจัดการเพื่อคุณภาพเพอเป็นการประกันว่า กระบวนการบริหารจัดการจะ
ื่
เป็นไปตามกระบวนการคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการและ
145