Page 153 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 153

(2)  เป็นสถานพยาบาลที่ใช้ยานพาหนะในการออกไปให้บริการเคลื่อนที่ ณ สถานที่ใดที่หนึ่ง

                                                   ื่
                   เป็นการชั่วคราว และมีวัตถุประสงค์เพอช่วยเหลือหรือสงเคราะห์โดยไม่เรียกเก็บค่าบริการใด ๆ ไม่ว่า
                   จะเป็นการจัดให้บริการขององค์กรการกุศลต่าง ๆ มูลนิธิ สถานพยาบาลเอกชนหรือของบุคคลใด

                   บุคคลหนึ่ง โดยผู้ให้บริการต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม

                          (3)  เป็นสถานพยาบาลเคลื่อนที่ของสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ที่ใช้
                                                                 ื่
                   ยานพาหนะเป็นที่ให้บริการไปยังหน่วยงานที่ร้องขอเพอการตรวจดูแลสุขภาพ พนักงาน นักศึกษา
                   ตามสัญญาประกันสุขภาพหรือการตรวจสุขภาพประจ าปีระหว่างสถานพยาบาลกับหน่วยงานนั้น เช่น
                          ก. รถเอกซเรย์ ต้องมีมาตรฐานและได้รับอนุญาตจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และมีนัก

                   รังสีวิทยาเป็นผู้ให้บริการ กรณีมีการให้บริการชันสูตรร่วมด้วย ต้องมีนักเทคนิคการแพทย์เป็นผู้

                   ให้บริการ
                          ข. รถทันตกรรม ต้องมีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด และให้บริการโดยผู้

                   ประกอบวิชาชีพทันตกรรม
                          ค. รถปฏิบัติการชันสูตร ต้องมีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด และให้บริการ

                   โดยนักเทคนิคการแพทย์


                          (4)  เป็นสถานพยาบาล ณ ที่พานักของผู้ป่วย โดยผู้ให้บริการต้องเป็นผู้ประกอบการวิชาชีพ
                   เวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบโรคศิลปะ

                          (5)  สถานพยาบาลกลุ่มนี้เป็นสถานพยาบาลที่อยู่ในสังกัดของรัฐ เช่น โรงพยาบาลในสังกัด

                   กระทรวงสาธารณสุข รัฐวิสาหกิจและมหาวิทยาลัย เช่น โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย หรือองค์กร
                   ปกครองท้องถิ่น เช่น โรงพยาบาลในสังกัดของกรุงเทพฯ สถานีอนามัยหรือศูนย์แพทย์ในสังกัดของ

                   เทศบาล เป็นต้น หากแบ่งตามระดับบริการของสถานพยาบาลสามารถแบ่งได้ 4 กลุ่ม ได้แก่
                              o ระดับปฐมภูมิ คือ สถานีอนามัย หน่วยบริการปฐมภูมิ ศูนย์สุขภาพชุมชน หรือ

                   โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพต าบล

                              o ระดับทุติยภูมิ คือ โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลอ าเภอ
                              o ระดับตติยภูมิ คือ โรงพยาบาลทั่วไป หรือโรงพยาบาลจังหวัด ซึ่งอาจรวมถึง

                   โรงพยาบาลศูนย์
                              o ระดับขั้นสูงสุด คือ โรงพยาบาลศูนย์ขนาดใหญ่ โรงเรียนแพทย์ หรือโรงพยาบาล

                   มหาวิทยาลัย

                          7.1.4 การควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน


                          การรับรองคุณภาพของสถานพยาบาล เป็นหนึ่งในกระบวนการเพอประกันคุณภาพของ
                                                                                   ื่
                   บริการสุขภาพ การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลหรือที่รู้จักกันดีในแวดวงสุขภาพว่า HA (Hospital

                   Accreditation)




                                                                                                   140
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158