Page 148 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 148
6.12 ฉลากวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ส าหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ให้สังเกตว่ามีเลขทะเบียนต ารับ เช่น
Reg.No. P1A 060/2541, P1C006/2541, P2A 002/2541 (หลัง Reg.No. มักจะขึ้นด้วยตัวอักษร P ที่มาจาก
ค าว่า Psychotic) ซึ่งเลขทะเบียนนี้จะปรากฏอยู่บนฉลากของภาชนะบรรจุ
ข้อแนะน าในการดูฉลากของผลิตภัณฑ์วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ฉลากจะต้องมีข้อความแสดง
รายละเอียดเกี่ยวกับ
o ชื่อยา
o ปริมาณบรรจุของยาส าเร็จรูป
o ชื่อและปริมาณวัตถุออกฤทธิ์ และตัวยาอื่นซึ่งเป็นองค์ประกอบส าคัญของต ารับยา
o เลขที่หรือรหัสแสดงครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์
o เลขที่ใบส าคัญการขึ้นทะเบียนต ารับวัตถุออกฤทธิ์
o สรรพคุณหรือข้อบ่งใช้
o ขนาดและวิธีการใช้ ตลอดจนข้อห้ามใช้ (ถ้ามี)
o ชื่อผู้ผลิตและที่ตั้งของสถานที่ผลิต
o ชื่อผู้น าเข้าและที่ตั้งของสถานที่น าเข้า กรณีน าเข้า
o ชื่อตัวแทนจ าหน่ายและที่ตั้งของสถานที่ที่เป็นตัวแทนจ าหน่าย ในกรณีที่มีการแต่งตั้งตัวแทน
จ าหน่าย
o วัน เดือน ปี ที่ผลิต และวัน เดือน ปีที่หมดอายุ ในกรณีที่มีการสิ้นอายุตามสภาพ
o มีตัวอักษรสีแดงค าว่า “วัตถุออกฤทธิ์” เป็นระยะติดต่อกันกับพื้นสีขาว มีเส้นกรอบสีแดงตลอด
ฉลาก ในแนวระดับ เห็นได้ชัด
o มีค าเตือน “อาจเสพติดและให้โทษ ต้องใช้ตามแพทย์สั่ง” เป็นตัวอักษรสีแดง
6.13 ฉลากสารระเหย
ตามพระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย ได้ก าหนดไว้ว่า ผู้ผลิต ขาย หรือน าเข้าสารระเหย ต้อง
จัดให้มีภาพเครื่องหมาย หรือใช้ข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพอเป็นเครื่องเตือนให้
ื่
ระวังการใช้สารระเหยดังต่อไปนี้ คือให้มี
o ค าว่า “สารระเหย”
o ชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิตหรือน าเข้าแล้วแต่กรณี
o ปริมาณที่บรรจุเป็นระบบเมตริก
o ชื่อทางเคมีและอัตราส่วนของสารผสมทั้งหมดในสารระเหย
o วิธีการใช้ และวิธีการเก็บรักษา
135