Page 168 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 168
้
การใช้แต่ละครั้ง รวมถึงสภาพแวดล้อมของผู้ใช้ เป็นต้น จึงพิจารณาได้ว่าเป็นการโฆษณาที่โออวดเกิน
จริง
ื่
นอกจากนี้ยังพบว่าการโฆษณาที่น าเสนอความจริงเพยงบางส่วน เพอให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด
ี
เกี่ยวกับคุณภาพ มาตรฐานของเครื่องส าอาง เช่น ระบุว่าได้รับการจัดให้อยู่ในเครื่องส าอางประเภทที่
ปราศจากการเติมแต่งสารที่เป็นอนตรายแก่ผิว โดยได้รับการรับรองจาก อย. แล้ว ข้อเท็จจริงคือ
ั
เครื่องส าอางนั้นเป็นเครื่องส าอางทั่วไปที่ผู้น าเข้าฯ ได้แจ้งน าเข้าตามหลักเกณฑ์ที่ อย. ก าหนดไว้ และ
้
ได้รับหนังสือแจ้งการน าเข้าเครื่องส าอางจาก อย. แล้วเท่านั้น ไม่ใช่ว่า อย .รับรองสรรพคุณตามที่อาง
ถึง จึงจัดเป็นโฆษณาที่เป็นเท็จ
8.4 การโฆษณายา
8.4.1 นิยามของยา
“ยา” หมายถึง สารที่ใช้เพอการป้องกัน บ าบัดรักษา หรือตรวจวินิจฉัยโรค ซึ่งอาจจะได้มา
ื่
จากการสังเคราะห์หรือจากแหล่งธรรมชาติก็ได้
รายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณายา
ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 (ราชกิจจานุเบกษา, 2550b) ในมาตรา 88 ระบุ
รายละเอียดการโฆษณายาที่ถูกต้องไว้ ดังนี้
ั
้
(1) ต้องไม่เป็นการโออวดสรรพคุณยา หรือวัตถุอนเป็นส่วนประกอบของยาว่าสามารถ
บ าบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยได้อย่างศักดิ์สิทธิ์ หรือหายขาด หรือใช้
้
ื่
ถ้อยค าอนใดที่มีความหมายท านองเดียวกัน ลักษณะข้อความที่โออวด เช่น ยอด หายขาด ปลอดภัย
ิ
ที่สุด โอกาสดีๆอย่างนี้มีไม่บ่อยนัก พเศษ หายห่วง เหมาะสมที่สุด ไม่ท าให้เกิดอาการแพ วิเศษ
้
เด็ดขาด ฉับพลัน ไม่ต้องทนร าคาญ ดีเลิศ พชิตโรคร้าย ทันใจ ไม่มีผลข้างเคียง ศักดิ์สิทธ์ หมดกังวล
ิ
เป็นหนึ่งมาตลอด ตัวอย่างการโฆษณาที่อวดอ้างสรรพคุณ (รูปที่ 8-3)
(2) ต้องไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง
(3) ต้องไม่ท าให้เข้าใจว่ามีวัตถุใดเป็นตัวยา หรือเป็นส่วนประกอบของยา ซึ่งความจริงไม่มี
วัตถุหรือส่วนประกอบนั้นในยา หรือมีแต่ไม่เท่าที่ท าให้เข้าใจ
(4) ต้องไม่ท าให้เข้าใจว่าเป็นยาท าให้แท้งลูกหรือยาขับระดูอย่างแรง
(5) ต้องไม่ท าให้เข้าใจว่าเป็นยาบ ารุงกามหรือยาคุมก าเนิด
(6) ต้องไม่แสดงสรรพคุณยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ
(7) ต้องไม่มีการรับรองหรือยกย่องสรรพคุณยาโดยบุคคลอื่น
155