Page 171 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 171

พบว่า บริษัท ร็อตต้าฟาร์ม (ประเทศไทย) จ ากัด สถานประกอบการเลขที่ 594 ถนนหลวง แขวงป้อม

                                                 ่
                             ่
                   ปราบศัตรูพาย เขตป้อมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ได้ตรวจการโฆษณาขายยาทาง
                   หนังสือพิมพ์ช่วงเดือน พฤศจิกายน 2552 ยาดังกล่าวคือ “กลูโคซามีน ซัลเฟต” ซึ่งจัดเป็นยาอันตราย
                   แสดงข้อความ เช่น

                          “ปวดเข่า...รักษาได้ อาการปวดเข่าจากโรคข้อเสื่อมรักษาได้ หากผู้ป่วยได้รับยาชะลออาการ

                   ข้อเสื่อม...ด้วยความปรารถนาดีจากบริษัท ร็อตต้าฟาร์ม (ประเทศไทย) จ ากัด...ROTTAPHARM

                   MADAUS.../ชะลอข้อเสื่อมได้จริงหรือ?...ยากลูโคซามีน ซัลเฟต เป็นสารประกอบชนิดหนึ่งที่ได้รับการ
                   ยอมรับจากทางการแพทย์ว่าเป็นยาที่สามารถใช้ชะลอการเสื่อมของข้อได้ เพราะเป็นสารที่มีโครงสร้าง

                                                                     ่
                   ชนิดเดียวกันกับสารในร่างกายที่ใช้ในการสร้างกระดูกออนผิวข้อ...” (ที่มา: ผลการด าเนินคดี
                   ส  านั กงาน คณะกร ร ม การ อาห าร แล ะย า   กร ะทร ว งส าธ าร ณสุ ข   สื บ ค้น จ า ก

                   http://www.fda.moph.go.th/www_fda/data_center/ifm_mod/nw/ผลการด าเนินคดีฯ_

                   ยา_65-53.pdf)

                          โดยการโฆษณาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังไม่ได้รับอนุญาตจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและ

                   ยา และเป็นการโฆษณาขายยาโดยแสดงสรรพคุณยาอนตราย ผลการลงโทษ คือ มีการเปรียบเทียบ
                                                                ั
                   ปรับเป็นเงิน 80,000 บาท




                   8.5 การโฆษณาอาหาร


                          8.5.1  ลักษณะปัญหาของการโฆษณาอาหาร

                          ลักษณะปัญหาของการโฆษณาอาหารควบคุมพเศษ เช่น ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดื่มในภาชนะ
                                                                 ิ
                   บรรจุปิดสนิท อาหารทารก ไอศกรีม ในปัจจุบันพบปัญหาที่เป็นประเด็นส าคัญ เช่น การโฆษณาโอ ้

                   อวดเกินความจริง ผลิตภัณฑ์มีราคาแพงมากเกินความจริง  การใช้ชื่อบริษัท/ชื่อผู้ขาย/ที่อยู่/เบอร์
                   โทรศัพท์ปลอม เป็นต้น

                          8.5.2  การโฆษณาอาหาร


                          พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 (ราชกิจจานุเบกษา, 2522c) มาตรา 40 ห้ามมิให้ผู้ใด

                                                                    ั
                   โฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอนเป็นเท็จ หรือเป็นการหลอกลวงให้เกิด
                   ความหลงเชื่อโดยไม่สมควร

                          มาตรา 41 ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารทาง

                                                                                            ิ
                                                                                                ื่
                                                                                               ์
                                                                                    ์
                   วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภาพ ภาพยนตร์ หรือทางหนังสือพมพ หรือสิ่งพมพอน หรือ
                                                                                 ิ

                                                                                                   158
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176