Page 165 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 165
ข้อความดังต่อไปนี้ ถือว่าเป็นข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือเป็นข้อความที่อาจ
ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
(1) ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง
(2) ข้อความที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระส าคัญเกี่ยวกับเครื่องส าอาง ไม่ว่าจะกระท า
โดยใช้หรืออางองรายงานทางวิชาการ สถิติ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอนไม่เป็นความจริงหรือเกินความจริง
้
ั
ิ
หรือไม่ก็ตาม
(3) ข้อความที่แสดงสรรพคุณที่เป็นการรักษาโรคหรือที่มิใช่จุดมุ่งหมายเป็นเครื่องส าอาง
(4) ข้อความที่ท าให้เข้าใจว่ามีสรรพคุณบ ารุงกาม
(5) ข้อความที่เป็นการสนับสนุนโดยตรงหรือโดยออมให้มีการกระท าผิดกฎหมายหรือ
้
ศีลธรรม หรือน าไปสู่ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ
(6) ข้อความที่จะท าให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคในหมู่ประชาชน
ี
(7) ข้อความอย่างอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ข้อความที่ใช้ในการโฆษณาที่บุคคลทั่วไปสามารถรู้ได้ว่าเป็นข้อความที่ไม่อาจเป็นความจริงได้
โดยแน่แท้ ไม่เป็นข้อความที่ต้องห้ามในการโฆษณาตามวรรคสอง (1)
มาตรา 42 การโฆษณาจะต้องไม่กระท าด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย
ั
หรือจิตใจ หรือขัดต่อศีลธรรมอันดีงามของประชาชน หรืออนอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนร าคาญแก่
ผู้บริโภค
8.3.2 ปัญหาการโฆษณาเครื่องส าอาง
ที่พบมากในปัจจุบัน คือ การโฆษณาสรรพคุณเกินกว่าความเป็นเครื่องส าอาง เช่น อางว่า
้
สามารถบ าบัด บรรเทา รักษาโรค เช่น ขจัดสิว ฝ้า แก้แพ้ คัน โรคผิวหนังต่าง ๆ เป็นต้น อ้างว่าเกิดผล
ต่อสุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระท าหน้าที่ใด ๆ ของร่างกาย เช่น เสริมทรวงอก สลายไขมัน ลด
ความอวน ปลูกผม กระชับช่องคลอด กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต เป็นต้น มีการโฆษณาสูตร
้
ส่วนประกอบ และสรรพคุณไม่สอดคล้องกับที่แจ้งไว้กับส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีการ
น าชื่อหน่วยงานไปรับรองผลิตภัณฑ์โดยที่ไม่ได้รับอนุญาต มีการน าข้อความที่ไม่อนุญาตให้แสดงบน
ฉลากไปใช้ในการโฆษณา หรือมีการอ้างผลของผลิตภัณฑ์ว่าใช้ได้ผลภายในเวลาที่ก าหนด
การโฆษณาเครื่องส าอางในปัจจุบันส่วนมากสื่อสารผ่านสื่อมวลชน ทางโทรทัศน์ วิทยุ และ
เริ่มมีการสื่อสารส่วนบุคคลมากขึ้น ด้วยต้องการให้ถึงกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น เช่น ไปรษณียบัตร
จดหมาย โบรชัวร์ต่าง ๆ
152