Page 110 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 110
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
ประโยชนทางคลินิก ใชในรายที่ช็อก เพื่อชวยใหความดันโลหิตกลับสูปกติ โดย
ไมทําใหเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
2.1.4 Isoproterenol or isoprenaline (ISO)
กลไกการออกฤทธิ์ เปนสารสังเคราะหที่กระตุน -adrenoceptors ไดดีที่สุด
มีผลทั้ง 1- และ 2-adrenoceptors เกือบไมมีผลตอ -adrenoceptors
เลย
ี
เภสัชจลนศาสตร ดูดซึมเขารางกายไดดีโดยการฉด และในรูปของ aerosol
ถูกทําลายที่ตับและเนื้อเยื่ออนโดยเอนไซม COMT ไมคอยถูกทาลายโดย
ํ
ื่
ู
เอนไซม เอนไซม MAO และไมถกดึงกลับเขาปลายประสาท (uptake) แบบ
epinephrine หรือ NE จึงออกฤทธิ์นานกวา แตแตกตางกันไมมาก
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1. ระบบไหลเวียนโลหิตและหัวใจ
ถาใหทางหลอดเลือดดํา ทําให peripheral vascular resistance ลดลง
diastolic blood pressure ลดลง ผลตอหัวใจทําให cardiac output
เพมขน โดยเปนผลจาก positive inotropic และ chronotropic และ
ึ้
ิ่
cardiac output ที่เพิ่มขึ้นนี้เพียงพอที่จะทําให systolic blood pressure
ยังคงเดิมอยูหรือสูงขึ้น ยามีฤทธทําใหเลือดไปเลี้ยงไตลดลงในคนปกติ
ิ์
แตเพิ่มมากขึ้นในคนที่มี cardiogenic หรือ septicemic shock
ิ่
2. กลามเนื้อเรียบ ทาใหกลามเนื้อเรียบทั่วไปคลายตัว โดยเฉพาะอยางยงที่
ํ
หลอดลมและทางเดินอาหารเปนขอดีในผูปวยโรคหืด และมีฤทธิ์ยบยั้งการ
ั
หลั่ง histamine จากการกระตุนของสารกอภูมิแพ (antigen) และการ
บีบตัวของมดลูกลดลง
3. ระบบประสาทสวนกลาง สามารถกระตุนระบบประสาทนี้แตไมมีผลทาง
คลินิก
ิ่
4. metabolic effect ทําใหเกิด hyperglycemia เล็กนอย เพมการสลาย
ไขมัน ทําใหเกิด free fatty acid เพิ่มขึ้น
~ 90 ~