Page 112 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 112

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                 ิ
                                                          
               เกดกระบวนการ β-oxidation ไดเปนพลังงานแกเซลล การสลายไขมันจึงชวยลดการสะสม
                                                                                     ิ่
                                                           
               ไขมันภายในรางกาย  สารสกัดใบมะรุมที่ความเขมขน 0.3 และ 1 มก./มล. ชวยเพมการสลาย
               ไขมันจึงเปนไปไดวาอาจจะชวยลดการสะสมไขมันในรางกาย และอาจชวยลดความอวนไดทั้งใน
                                                                                     
               ผูที่บริโภคอาหารปกติหรืออาหารไขมันสูง     นอกจากนี้การสลายไขมันที่มากเกนไปทําใหระดับ
                                                                                         
                                                                                 ิ
               FFA และ glycerol สูงเปนระยะเวลานานจะทําใหเกิด lipotoxicity (Grabner et al., 2021) มี
               ผลรบกวน insulin-signaling pathway เนื่องจากเกิด phosphorylation ของ Serine

               residues บน insulin receptor substrate-1 จะทาใหการทํางานของ insulin ลดลง และทํา
                                                          ํ
                                                                                          ิ
                    ิ
                                                                                    ี่
                                                       ั
                                             ึ้
               ใหเกดภาวะ insulin resistance ขน ประกอบกบการที่ระดับ glycerol ในเลือดทมีมากเกนไป
               สามารถเปลี่ยนเปนกลูโคสไดโดยกระบวนการ intrahepatic pathway ทําใหระดับน้ําตาลใน
                                                    ั
                                      ิ่
                                                              ิ
               เลือดสูงขึ้น ดังนั้นการเพมการสลายไขมนที่มากเกนไปอาจสามารถพฒนาจนเกิดเปน
                                                                               ั
               โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได การที่สารสกดใบมะรุมที่ความเขมขน 0.3 และ 1 มก./มล.สามารถ
                                                ั
               ยับยั้งการสลายไขมันในสภาวะ ISO-induced lipolysis ซึ่งเปนการสลายไขมันที่มากกวาปกติจง
                                                                                             ึ
               อาจจะเปนกลไกหนึ่งในการชวยลดระดับน้ําตาลในเลือดและรักษาโรคเบาหวานของมะรุม ทั้งใน
               ผูที่บริโภคอาหารปกติหรือไขมันสูง
                       การศึกษาของอชิดา จารุโชติกมลและคณะ (2561) พบวา cycloalliin ความเขมขน 1,
                                                                                        
                                                                                          
               10 และ 100 ไมโครโมลาร สามารถยับยั้ง ISO-induced lipolysis ในเซลลไขมันจากหนูที่ไดรับ
                                        ั
                                                                       ั
               NPD แตไมมีผลกับเซลลไขมนจากหนูทไดรับ HFD และไมมีผลกบเซลลในสภาวะปกติ นั่น
                                                  ี่
               หมายถึง cycloalliin ซึ่งเปน organosulfur ที่พบในหอมใหญและกระเทียม อาจมีกลไกของการ
               ลดระดับน้ําตาลและรักษาโรคเบาหวานได ในผูที่มีสภาวะเครียดตาง ๆ และอาจไดผลเฉพาะผูท ี่

               บริโภคอาหารปกติไขมันต่ํา ไมไดผลกับผูบริโภคอาหารไขมันสูง  และ cycloalliin ไมมีผลในการ
               ชวยลดการสะสมไขมันในรางกายหรือลดความอวน ขอมูลที่กลาวมาเปนการศึกษาในเบื้องตนที่
                                                       
                                                            
               ยังตองการขอมูลการศึกษาในสัตวทดลองหรือในมนุษยเพิ่มเติม สามารถอานงานวิจัยเพิ่มเติมตาง

               ๆ ไดดังเอกสารอางอิงทายบท


                       2.1.5  Dobutamine
                             เปนสารสังเคราะห โครงสรางทางเคมีคลาย dopamine






                                                    ~ 92 ~
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117