Page 115 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 115

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                              อาการพิษชนิดแบบเรื้อรัง  คลายอาการพษเฉียบพลัน แตผลทางดานจิตใจ
                                                                  ิ
                              พบมากกวา อาการทางจิตคลายจิตเภท (schizophrenia) และอาจกระตุนคน

                              ที่มีแนวโนมเปน schizophrenia อยูแลวใหมีอาการขึ้น น้ําหนักจะลด

                                                         ี
                              ประโยชนทางคลนิก (ปจจุบันมยาที่ใชทดแทนหลายชนิด เนื่องจากสารนี้มี
                                             ิ
                              ฤทธิ์ทําใหเสพติดสูง และอนุพันธของสารนี้ใชลดความอยากอาหารในผูปวยมี
                              น้ําหนักมากเพื่อลดน้ําหนักได)
                              1.  รักษาการนอนหลับผิดปกติ (narcolepsy)

                              2.  รักษาโรคสมาธิสั้น (hyperkinetic syndrome) ในเด็ก



                                   ยาที่มีฤทธิ์เปน -adrenoceptor agonists
                       2.2.2  Ephedrine

                                               ั้
                              ไดจากพืช กระตุนทง - และ -adrenoceptors โดยออกฤทธิ์ทั้งทางตรง
                                                  
                              และทางออม ฤทธิ์ทางออมโดยการกระตุนการหลั่งสารสื่อประสาท NE ยามี
                                      
                              ฤทธิ์ตอสมองนอยกวา amphetamine
                              ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา หลังจากรับประทานจะออกฤทธิ์นานกวา Epi แตความ

                              แรงนอยกวา ฤทธิ์ทางสมองนอยกวา
                                                                           ิ่
                                            ี
                                                                                 ั
                              1.  ระบบไหลเวยนโลหิต คลาย Epi ความดันโลหิตเพมขึ้น อตราการเตนของ
                                 หัวใจไมเปลี่ยนแปลง เลือดไปเลี้ยงที่สมอง หัวใจ กลามเนื้อเพิ่มขึ้น แตที่ไต
                                 และอวัยวะภายในลดลง

                              2.  กลามเนื้อเรียบที่หลอดลมคลายตัวไมมากเทา Epi แตฤทธิ์นานกวา มดลูก
                                                                      
                                 บีบตัวนอยลง กลามเนื้อเรียบอื่นมีผลแบบเดียวกับ Epi
                              3.  ตา ถาหยอดตาทําใหรูมานตาขยาย ความดันในดวงตาไมเปลี่ยนแปลง

                              อาการไมพึงประสงค คลาย Epi และกระตุนสมองทําใหนอนไมหลับ

                              ประโยชนทางคลินิก
                                                                                             ํ
                              1.  ใชเปนยาบรรเทาอาการคัดจมูก (nasal decongestant) เนื่องจากมีผลทา
                                 ใหหลอดเลือดที่โพรงจมูกหดตัว (เปนหลอดเลือดที่ผิวหนัง) ทางเดินหายใจ

                                 โลง สารคดหลังในจมกลดลง
                                          ั
                                                   ู
                                             ่
                                                    ~ 95 ~
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120