Page 107 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 107
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
2. กลามเนื้อเรียบ
ทางเดินอาหาร คลายตัว กลามเนื้อหูรูดบีบตัว
ั
มดลูก ขึ้นกบระยะของรอบเดือน ระยะการตั้งครรภและขนาดยา โดยใน
เดือนสุดทายของการตั้งครรภ และระยะหลังคลอด epinephrine จะ
ยับยั้งและลดความตึงตัวของมดลูก
กระเพาะปสสาวะ ทําใหมีปสสาวะคั่งในกระเพาะปสสาวะ
3. ระบบหายใจ ทาใหกลามเนื้อเรียบของหลอดลมขยายตัว จากการกระตุน
ํ
2-adrenoceptor และทําใหสารคัดหลั่งของหลอดลมลดลง การใชใน
ผูปวยโรคหืด epinephrine จะมีฤทธิ์ยับยงการหลั่ง histamine (เปนสาร
ั้
ที่หลั่งออกมาเมื่อไดรับการกระตุนจากสารกอภมิแพ มีผลทําใหหลอดลม
ู
หดตัว)
4. ระบบประสาทสวนกลาง การฉีด epinephrine ยาจะเขาสมองไดยาก ไม
คอยมีผลกระตุนสมอง แตอาจทําใหบางคนรูสึกกระสับกระสาย ปวดศีรษะ
มือสั่น โดยเปนผลมาจากการกระตุนระบบไหลเวียนโลหิต
5. Metabolic effects ทําใหระดับกลูโคสในเลือดเพมขึ้น เพิ่มการสลายไกล
ิ่
โคเจนใหเปนกลูโคส (glycogenolysis) สวนใหญไดจากตับ
ยับยั้งการหลั่งอนซูลิน (บทบาทกลไกนี้เกิดนอย) เพมการหลั่ง glucagon
ิ
ิ่
มากขน ทําใหมีน้ําตาลในเลือดมากขึ้น ระดับ free fatty acids ในเลือด
ึ้
สูงขึ้น โดยเปนผลจากการกระตุน triglyceride lipase
ิ
อาการไมพึงประสงค อาจทําใหเกดอาการไมพึงประสงค เชน รูสึกกลัว กังวล
กระสับกระสาย มือสั่น ปวดศีรษะตุบ ๆ วิงเวียน ใจสั่น แกโดยการพก อาการ
ั
รุนแรงที่อาจพบเมื่อใหยาขนาดสูงหรือเร็ว ไดแก เลือดออกในสมองและ
arrhythmia ถามี ventricular fibrillation อาจทําใหเสียชีวิตได
ประโยชนทางคลินิก
1. ลดอาการ bronchospasm ในรายมีอาการหอบหืดหรือแพ secretion ใน
หลอดลมลดลงและใสขึ้น ทําใหขับออกงายขึ้น
~ 87 ~