Page 106 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 106
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
ดังนั้น metabolic effect ของ catecholamines จึงไดแก การเพม basal
ิ่
metabolic rate, hyperglycemia, free fatty acid สูงขึ้น และเพิ่มการใชออกซิเจน
ตัวอยางยาในกลุม catecholamines (ดูตารางที่ 3.1, 3.2 และ 3.3 ประกอบ) ไดแก
2.1.1 Epinephrine or Adrenaline (Epi)
ิ์
กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธกระตุนทั้ง - และ -adrenoceptors ที่แรง
มาก หลั่งไดจาก adrenal medulla (หรือตอมหมวกไตชั้นใน)
เภสัชจลนศาสตร ถารับประทาน epinephrine จะไมไดฤทธิ์ที่ตองการ
เพราะถูกทําลายอยางรวดเร็วในทางเดินอาหารและที่ตับ ถาฉดเขาใตผิวหนัง
ี
ี
เสนโลหิตบริเวณนั้นจะหดตัว การฉดเขากลามเนื้อจะไดผลเร็วกวา แตไมนิยม
ฉีดเขากลามเนื้อหรือเสนโลหตดํา นอกจากถาจําเปนจริง ๆ เพราะอาจม ี
ิ
arrhythmia จึงใชฉีดเขาใตผิวหนัง ถาสูดเขาทางจมูก จะมผลแตเฉพาะ
ี
ิ
ทางเดินหายใจเปนสวนใหญ แตบางครั้งเกด arrhythmia ไดโดยเฉพาะเมื่อใช
ในขนาดสูง ยาถูกเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในรางกายดวยเอนไซม catechol–
ี่
O–methyltransferase (COMT) ทอยบริเวณ synaptic cleft และเอนไซม
ู
monoamine oxidase (MAO) ที่อยูในเซลลประสาท
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ิ่
ึ้
1. ระบบไหลเวียนโลหิตและหัวใจ ทําใหความดันโลหิตเพมขน ชีพจรใน
ระยะแรกเร็ว เมื่อความดันโลหิตเพมขึ้นจะชาลง เนื่องจากมีรีเฟล็กซก
ิ่
ระตุนเสนประสาทพาราซิมพาเทติก
หลอดเลือด มีเลือดไปเลี้ยงที่กลามเนื้อลาย สมอง ตับ ปอด หัวใจมากขึ้น
ไปเลี้ยงที่ผิวหนัง ไต ลดลง
หัวใจ มีฤทธิ์กระตุนหัวใจที่แรง ออกฤทธิ์โดยตรงตอ 1-adrenoceptors ที่
ึ้
ี่
กลามเนื้อหัวใจ หัวใจเตนเร็วขึ้น แรงขน ปริมาณเลือดทหัวใจสูบฉีดได
ํ
ั
้
่
ิ
(cardiac output) เพมขึน การใชออกซเจนมากขึน พรอมกบการทางานของ
้
ิ
หัวใจมากขึ้น
~ 86 ~