Page 105 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 105

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                      ผลตอระบบประสาทสวนกลาง
                                                                     ิ
                              Epi หรือ ISO ในปริมาณที่เพยงพอ จะทําใหเกดความตื่นตัว สั่น กระตุนการ
                                                      ี
                                  
                                                              ั
                       หายใจ (แตถาฉีด Epi เขาหลอดเลือดดวยอตราเร็วมาก อาจใหผลยบยั้งแทนได
                                                                                   ั
                                             
                                                                        ็
                                                                   
                                              ิ่
                       เนื่องจากความดันโลหิตที่เพมขึ้นอยางรวดเร็ว) แตอยางไรกตามฤทธิ์ในการกระตุนนี้ไม
                       มากเพียงพอที่จะนํามาใชประโยชนได
                              ปริมาณของสารสื่อประสาท NE ใน CNS มีสวนสัมพันธตอพฤติกรรมและการ
                       ทํางานของสมองอยางมาก การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารสื่อประสาท NE อาจทําใหเกิด
                                                                                           
                                                      ื่
                                                                  
                                                                                 ิ
                       ความผิดปกตินี้ได แตยังไมพบวาเมอฉีดยา NE เขาสูรางกายจะเกดผลนี้ อาจเปน
                       เพราะวายาผานเขา CNS ไดไมดีนัก


                      ผลตอการเผาผลาญพลังงาน (metabolism)

                              ในภาวะฉุกเฉิน  Epi จะเปน emergency hormone ซึ่งจะหลั่งออกมามากใน
                              ิ
                       เวลาที่เกดอาการตื่นเตนตกใจ ทําใหมีการปรับเกยวกบผลของ metabolic ในรางกาย
                                                                   ั
                                                               ี่
                                      
                       ที่สําคัญที่สุดไดแก การเพิ่มระดับน้ําตาลในเลือด การเพิ่มระดับ free fatty acid และ
                       ลดระดับ K  ในพลาสมา (กระตุน -adrenoceptor)
                                +
                                                                                          ึ้
                              การใชออกซิเจนของรางกาย (oxygen consumption) อาจเพิ่มขนได
                       ประมาณ 25 % หลังจากการฉีด Epi หรือการกระตุนเสนประสาทซิมพาเทติก ในขณะ

                       ที่ NE มีผลนอยมากตอการใชออกซิเจนของรางกายและการสราง lactic acid ในมนุษย
                              การออกฤทธิ์ของ catecholamines เชื่อวาโดยการกระตุน -adrenoceptor

                       ทําใหกระตุนการทํางานของเอนไซม adenylyl cyclase ที่ cell membrane ของ

                       อวัยวะเปาหมาย ทําให ATP ถกเปลี่ยนเปน cAMP ซึ่งจะทําหนาที่เปน  second
                                            
                                                  ู
                                                                                            ู
                       messenger กระตุนเอนไซม kinase เปลี่ยน phosphorylase B (inactive) ใหอยใน
                       รูป active เปน phosphorylase A ซึ่งทําหนาที่เปลี่ยน glycogen ที่กลามเนื้อและตับ

                                                                                 ึ้
                       ใหเปน glucose ดังนั้นจึงทําใหปริมาณของ glucose ในเลือดสูงขน นอกจากนั้น
                       cAMP จะกระตุน activated lipase ใหเปลี่ยน triglyceride ไปเปน free fatty acid

                                                       ึ้
                       จึงมีปริมาณของ free fatty acid สูงขนดวยเพื่อเปนแหลงของพลังงานอีกทางหนึ่ง



                                                    ~ 85 ~
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110