Page 28 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 28
16 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 17
ี
16 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
ื
์
้
้
ี
4) โรคเบาหวานที่มสาเหตุจาเพาะ เป็นโรคเบาหวานทมสาเหตชัดเจน ได้แก ่ ▪ ติดเชื้อง่ายหรือเป็นฝีตามผิวหนัง เช่น อวัยวะเพศ ขาหนีบ รักแร้ ใต้ราวนม
ี
ุ
ี
่
ั
์
ั
่
ิ
้
ิ
ั
เกดจากมความผดปกติทางพนธุกรรมของเบตาเซลลของตบออน หรือ โรคตบอ่อนอักเสบ เป็นต้น
ี
ิ
ั
ื
ี
เรื้อรัง (chronic pancreatitis) อาจเกดจากการได้รบยา หรอสารเคม เช่น antiretro- ▪ เกิดแผลได้ง่ายและเป็นเรื้อรัง แผลหายยาก
▪ ตาพร่ามัวอย่างไม่ทราบสาเหตุ
virals, corticosteroids เป็นต้น จากการติดเชื้อ ภูมิคมกัน หรือสาเหตุจากโรคของต่อมไร้ ▪ ปัสสาวะมีมดขึ้น
ุ้
ท่ออื่น ๆ เช่น Cushing’s syndrome, acromegaly เป็นต้น
▪ หนังตาตก
1.3 อาการและอาการแสดงทางคลินิกของโรคเบาหวาน ▪ อัมพาตของใบหน้าซีกใดซีกหนึ่ง
▪ เท้ามีแผลเนื้อตาย
โรคเบาหวาน หรือ ภาวะระดับน้้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ส่งผลกระทบต่อระบบ ▪ เจ็บหน้าอก
(1, 7)
หรืออวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย โดยมีอาการและอาการแสดงหลัก ๆ ดังนี้ ▪ รู้สึกชาหรือปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า บางรายมีความต้องการ
ั
ี
1) ปัสสาวะบ่อยครั้ง และมการขบปัสสาวะในปรมาณมาก (polyuria) ปกติ ทางเพศลดลง หรือสมรรถทางเพศเสื่อม
ิ
ั
ั
รางกายขบนาตาลออกมาพร้อมกบปสสาวะ โดยอาศยกระบวนการ osmotic diuretic
่
้
้
ั
ั
่
่
น้้าตาลที่ผ่านการกรองที่ไตออกมา จะมีการดึงน้้าออกมาด้วย ในสภาวะทรางกายมีระดับ 1.4 เกณฑ์การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
ี
ั
้
น้้าตาลในเลือดสูงจนเกินขีดความจากดของไตในการดูดซึมกลับ (reabsorption) จึงท้าให้
ิ
ั
่
ี
มีการดูดซึมกลับที่ท่อไตลดลง ส่งผลให้มีการขับปัสสาวะในปริมาณมากและบ่อยครั้ง และ การประเมนความเสยงต่อโรคเบาหวานและการตรวจคดกรอง (screening test)
้
ื่
้
มีน้้าตาลกลูโคสออกมาในปัสสาวะ (glycosuria) มีประโยชน์อย่างยิ่งส้าหรับการคนหาหรือทานายโรคนี้ในผู้ซึ่งไม่มีอาการใด ๆ เพอการ
้
ั
ื่
2) มีภาวะขาดน้ า กระหายน้้าและต้องการดื่มน้้าบ่อยขึ้น (polydipsia) เป็นผล วินิจฉยและใหการรักษาแต่เนิ่น ๆ ทั้งนี้เพอป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว
ิ
ิ
่
ิ
่
ี
ิ
ื
จากร่างกายมีการสูญเสียน้้าไปกับการปัสสาวะในปริมาณมาก จึงท้าให้ร่างกายขาดน้้าอย่าง เพ่อเพ่มประสทธิภาพการประเมนความเสยงตอการเกดโรคเบาหวาน ต้องมีการคัดกรอง
รุนแรง ร่างกายพยายามทดแทนและชดเชยน้้าที่สูญเสียไปโดยมีอาการกระหายน้้ามาก เฉพาะผู้ป่วยที่มีโอกาสตรวจพบว่าเป็นโรคเบาหวานได้สูง (high risk screening strategy)
ื่
ุ
3) น้ าหนักตัวลด เนื่องจากเซลล์ไม่สามารถน้าน้้าตาลไปใช้เป็นพลังงานในร่างกาย เพอลดค่าใช้จ่าย ประหยัดและคุ้มค่าที่สุด ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 มีอบัติการณ์และ
ิ
็
้
้
่
ั
่
้
ได จึงมีการสลายไขมันและโปรตีนที่เก็บสะสมออกมาใช้เป็นพลังงานทดแทน สิ่งที่ตามมา ความชุกต้ามาก อีกทงอาการและการด้าเนนของโรคคอนขางเรวมาก ต่างจาก
คือ มีการสูญเสียกล้ามเนื้อ ไขมันและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ท้าให้ผู้ป่วยมีน้้าหนักตัวลดลง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มักไม่มีอาการและมีการด้าเนินของโรคค่อนข้างช้า ดังนั้นการ
อย่างรวดเร็ว ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจะเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เท่านั้น
(12)
้
ั
4) หิวบ่อยและรับประทานอาหารมากขึ้น (polyphagia) ผลจากที่ร่างกายสลาย ตามแนวทางเวชปฏิบัติ สาหรบโรคเบาหวาน 2560 ได้รวบรวมปัจจัยเสี่ยง
กล้ามเนื้อ ไขมันและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ท้าให้ร่างกายอยู่ในสภาวะขาดสารอาหารและขาด หลายประการที่สามารถประเมินได้ง่ายด้วยแบบสอบถามและตรวจร่างกาย (ตารางที่ 1-3)
พลังงาน จึงพยายามทดแทนด้วยมีอาการหิวบ่อยและรับประทานอาหารเพิ่มมากขึ้น แต่ โดยไม่ต้องเจาะเลือดและท้าได้ในระดับชุมชนที่มีข้อจ้ากัดด้านงบประมาณ แล้วน้ามา
ี
ึ
่
็
ี
ิ
่
้
น้้าหนักตัวไม่เพิ่มขึ้น ค้านวณเปนค่าคะแนนความเสยง (risk score) ซ่งสามารถใช้ทานายความเสยงการเกด
้
ี
้
ั
้
้
่
่
นอกจากอาการและอาการแสดงหลัก ๆ ข้างต้นแล้ว ผู้ป่วยอาจพบอาการอื่น ๆ โรคเบาหวานในอนาคตใน 12 ปขางหนา ได้อยางแมนยาสาหรบคนไทย ส่วนในการแปล
ได้แก ่ ผลคะแนนความเสี่ยง (ตารางที่ 1-4) อยู่ในช่วง 0-17 คะแนน ให้ท้าการคัดกรองเฉพาะผู้ที่
▪ อ่อนเพลียง่าย มีคะแนนความเสี่ยงตั้งแต่ 6 ขึ้นไป
▪ ผิวหนังแห้ง และมีอาการคัน