Page 31 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 31

18 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 19 | 19
                                                                       ู
                                                          ื
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                                       ้
                                                          ้


 แนวทางการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในผู้ใหญ่   ตารางที่ 1-3: ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และคะแนนความเสี่ยง (ดัดแปลงมา
                  จากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)
 ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในผู้ใหญ่ที่ไม่รวมหญิงตั้งครรภ์ แนะน้าให้คัด
                                                                         คะแนนความเสี่ยง
 กรองในผู้ที่มีความเสี่ยงสูงเท่านั้น ตามข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลก (รูปที่ 1-6)   ปัจจัยเสี่ยง   (Diabetes risk score)
 ดังนี้            อายุ
 1) ผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป                                                    0

 ี
 2
 2) ผู้ที่อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ม.  และ/หรือ มีรอบเอวเกินมาตรฐาน) และมพ่อ แม่ พี่   ▪  34-39 ปี
 หรือ น้อง เป็นโรคเบาหวาน   ▪  40-44 ปี                                         0
 3) เป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือก าลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิต   ▪  45-49 ปี   1

 4) มีระดับไตรกลีเซอไรด์ ≥ 250 มก./ดล. และ/หรือ HDL < 35 มก./ดล.   ▪ ≥ 50 ปี    2
 5) มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรที่น้ าหนักตัวแรกเกิด  เพศ
 เกิน 4 กก.          ▪  หญิง                                                    0
 6) เคยได้รับการตรวจพบว่าเป็น  impaired glucose  tolerance  (IGT)  หรือ   ▪  ชาย   2

 impaired fasting glucose (IFG)   ดัชนีมวลกาย
                                  2
 7) มีโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease)   ▪  < 23 กก./ม.            0
                                                   2
                                  2
 8) มีกลุ่มอาการถุงน้ าในรังไข่ (polycystic ovarian syndrome)   ▪ ≥ 23 กก./ม.  แต่ < 27.5 กก./ม.    3
                                     2
                     ▪ ≥  27.5 กก./ม.                                           5
 ผู้ที่มีเกณฑ์เสี่ยงข้อใดข้อหนึ่งใน 8 ข้อนี้ควรได้การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ถ้า  รอบเอว

 ้
 ปกติให้ตรวจซาทุกปีหรือตามคะแนนความเสี่ยงที่ประเมินได้   ▪  ผู้ชาย < 90 ซม. ผู้หญิง < 80 ซม.   0
                     ▪  ผู้ชาย ≥  90 ซม. ผู้หญิง ≥  80 ซม.                      2
                   ความดันโลหิต
                     ▪  ไมมี                                                    0
                          ่
                     ▪  มี                                                      2
                                                    ่
                   ประวัติโรคเบาหวานในญาติสายตรง (พอ แม่ พี่ หรือ น้อง)
                     ▪  ไมมี                                                    0
                          ่
                     ▪  ม  ี                                                    4
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36