Page 26 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 26
14 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 15
ี
14 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
้
์
ื
้
หลอดเลือดใหม่ขึ้นมาทดแทน แต่หลอดเลือดใหม่ที่สร้างขึ้นมานั้นจะเป็นหลอดเลือดที่ม ี 1.2 การแบ่งประเภทของโรคเบาหวาน
ความผิดปกติ มความเปราะบางและแตกง่ายมาก เมื่อกระบวนการเหล่านี้เกิดกับหลอด ในการแบงประเภทของโรคเบาหวาน สมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมรกา
ี
ิ
่
เลือดที่เลี้ยงอวัยวะใด ก็จะท้าให้เกิดโรคแทรกซ้อนจากภาวะโรคเบาหวานตามมา เช่น 2021 (American Diabetes Association; ADA) ได้แบงตามสาเหตุและพยาธิสรรวิทยา
ี
่
ความผิดปกติของจอตา (retinopathy) โรคไตจากโรคเบาหวาน (nephropathy) ภาวะ ในการเกิดโรค ออกเป็น 4 ชนิด (7, 11) คือ
็
ผนังหลอดเลือดแดงแขงตัว (atherosclerosis) เป็นต้น ซึ่งจะได้อธิบายเพิ่มเติมในส่วน
หัวข้อ 1.6 ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อไป 1) โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1 diabetes mellitus (T1DM) หรือ juvenile
onset DM หรือ insulin-dependent DM) เกดจากภูมคมกนของตนเองไปทาลายเบต้า
ิ
ั
้
ุ
ิ
้
เซลล์ที่สร้างอินซูลิน (autoimmune beta-cells) ท้าให้สร้างและหลั่งอินซูลินไม่ได้เลย ท้า
ื่
ให้ร่างกายไม่สามารถน้าน้้าตาลเข้าสู่เซลล์เนื้อเยื่อเพอให้เปลี่ยนเป็นพลังงานได้ จึงส่งผลให้
มีระดับน้้าตาลในเลือดสูง มักพบในผู้ป่วยที่อายุน้อยกว่า 30 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีรูปร่างผอม
ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน พบอุบัติการณ์ประมาณ ร้อยละ 1-5 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ทั้งหมด
2) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 diabetes mellitus (T2DM) หรือ maturity
ิ
ิ
onset DM หรือ non-insulin dependent DM) เกดจากการดื้ออนซูลิน (insulin resis-
ิ
tance) หรือมีการหลั่งอนซูลินที่ผิดปกติ (impaired insulin secretion) ทั้งนี้เนื่องจาก
์
ิ
เบต้าเซลลของตับออนท้างานได้ลดลง ท้าให้อนซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่ ไม่สามารถน้า
่
น้้าตาลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ยังท้างานได้แต่มีระดับที่ต่้ากว่าปกติ จึงท้าให้
ระดับน้้าตาลในเลือดสูง นอกจากนี้ยังมีผลท้าให้กล้ามเนื้อและไขมันสลายกรดอะมิโนและ
กรดไขมันให้เนื้อเยื่อตับ ซึ่งเป็นแหล่งสร้างน้้าตาลเข้าสู่กระแสเลือด ท้าให้เพิ่มระดับน้้าตาล
ในเลือดยิ่งสูงมากกว่าปกติ มักพบในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 40 ปี ขึ้นไป พบในเพศหญง
ิ
มากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่มรูปร่างอวน หรือถ้าไม่อวน มักมีไขมันสะสมที่หน้าท้อง
้
้
ี
เนื่องจากปริมาณของไขมันจะมีผลต่อการเกิดภาวะดื้ออนซูลิน พบอบัติการณ์ประมาณ
ุ
ิ
รูปที่ 1-5: วิถีการเกิด advanced glycation end products (AGEs) (ดัดแปลงมาจาก ร้อยละ 90-95 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด
เอกสารอ้างอิงหมายเลข 8)
้
3) โรคเบาหวานในขณะตังครรภ์ (Gestation diabetes mellitus; GDM) เป็น
โรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการสร้างฮอร์โมนจากรกที่มีผลต้านฤทธิ์
การท้างานของอินซูลิน ท้าให้เนื้อเยื่อต่าง ๆ เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ร่างกายจะไม่สามารถ
นานาตาลในกระแสเลอดไปใช้เปนพลงงานได้ตามปกติ ระดับนาตาลในเลอดจึงสูงขึ้น มัก
้
้
ื
็
ั
้
้
ื
้
ี
ี
้
ั
พบในช่วงไตรมาสท่ 2 และไตรมาสท่ 3 ของการตงครรภ์ ซึ่งน้าไปสู่ภาวะแทรกซ้อนทั้ง
มารดาและทารก พบอุบัติการณ์ประมาณ ร้อยละ 1-14 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด