Page 25 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 25

12 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 13 | 13
                                                                       ู
                                                                       ้
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                          ้
                                                          ื
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน


 2)  สามารถน าส่งกลูโคสเข้าเซลล์ได้ลดลง   1.1.4  ผลกระทบต่อร่างกายจากระดับน้ าตาลในเลือดสูง

 ▪  ขาดฮอร์โมนอินซูลิน   ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติของตับอ่อนที่สามารถสร้าง  หากปล่อยให้รางกายเกดระดับนาตาลในเลือดสงเป็นระยะเวลานาน จะสงผล
                                                                  ู
                                     ่
                                                     ้
                                                     ้
                                             ิ
                                                                                        ่
 อินซูลินได้น้อยลง  เช่น  โรคตับอ่อนอักเสบ  ในกรณีของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่  1  เกิด  กระทบต่อผนังหลอดเลือด (vascular endothelial cell) ที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของ
 เนื่องจากร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเองแล้วท้าลายเซลล์ตับอ่อนท้าให้ผลิตอินซูลินไม่ได้   ร่างกาย ทั้งในด้านการรับสารอาหาร ออกซิเจน และขับของเสีย ท้าให้เกิดความผิดปกติต่อ
 ▪  ภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) มักพบในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2   เซลลบผนงหลอดเลอดผานหลายกลไก โดยสารสื่อต่าง ๆ ที่หลั่งออกมาในช่วงที่เกิด
                                   ื
                                       ่
                      ์
                           ั
                        ุ
 กล่าวคือ  เซลล์ของร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซูลิน  ท้าให้ไม่สามารถน้ากลูโคสจากกระแส  ความเครยดระดับเซลล (oxidative stress) เช่น สารสออักเสบ กรดไขมนอิสระ  อนุมูล
                                      ์
                                                                               ั
                                                                ่
                                                                ื
                          ี
 เลือดน้าเข้าสู่เซลล์ได้  มักพบในผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่  30  ปีขึ้นไป  ภาวะอ้วน  ขาดการออก  อิสระ (free radical oxygen species) เพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถกระตุ้นการท้างานของเอนไซม ์
 ก้าลังกาย หรือหญิงตั้งครรภ์   ในกลุ่ม kinases ได้หลายชนด เช่น protein kinase C (PKC), MAPK ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
                                          ิ
                  การส่งสัญญาณของตัวรับอินซูลิน
                                  ุ
                         โดยโมเลกลของน้้าตาลที่สูงในเลือดเหล่านั้นในรูปรีดิวซ์ (reducing sugar) เช่น
                  กลูโคส ฟรุกโตส ที่ปราศจากการควบคุมด้วยเอนไซม์จะเข้าจับกับหมู่อะมิโนของ (R-NH2)
                                                                ี
                  กรดอะมโนโมเลกลของโปรตีนด้วยพันธะโควาเลนต์ เรยกว่าปฏิกรยาเมลลารด (Millard
                                                                                  ์
                                 ุ
                                                                        ิ
                                                                         ิ
                         ิ
                                                                             ิ
                                                                              ิ
                  reaction) ได้เป็นไกลโคซิลเอมีน (glycosylamine) จากนั้นเกิดปฏิกรยาดีไฮเดรชันได้
                        ิ
                  เป็นอิมน (imines หรือ Schiff’s base) และมีการจัดเรียงตัวใหม่ ซึ่งเรียกว่า Amadori
                  product ได้เป็นแอลโดสเอมน (aldoseamine) หรือ คีโทสเอมีน (ketoseamine)
                                            ี
                  จากนั้นเกดเปนผลผลิตสุดท้ายของปฏิกิริยาที่ไม่ใช้เอนไซม์ (non-enzymatic glycation
                          ิ
                             ็
                  of proteins) ได้สารโมเลกลที่มีขนาดใหญ่ขึ้นสะสมบนผนงหลอดเลอด ซึ่งเรียกว่า
                                                                     ั
                                                                              ื
                                         ุ
                  advanced glycation end products (AGEs) ซึ่งถือว่าเป็นสารพิษที่เรียกว่า glycotoxins
                  กระบวนการไกลเคชัน มีความสัมพนธ์กับความเสื่อมของเซลล์ รวมไปถึงภาวะแทรกซ้อน
                                               ั
                                       ื
                  ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เน่องจากสารดังกล่าวจะเข้าไปจับกับตัวรับของ AGEs (receptors
                  for advanced glycation end products; RAGEs) บริเวณเซลล์ หรือ เนื้อเยื่อโปรตีนใน
                                                                                       ั
                                                                                          ั
                                                                                 ึ
                                                                              ิ
                                                                                 ้
                          ้
                             ้
                   ่
                  รางกายทาใหเกดภาวะเครยดออกซิเดชัน และกระบวนการการอักเสบเกดขน โดยจบกบ
                                        ี
                               ิ
                  ตัวรับบริเวณเซลล์หรือเชื่อมข้ามสายโมเลกุลกับโปรตีนในร่างกาย (cross linked protein)
                                                             (10)
 รูปที่ 1-4: กลไกการเกิดโรคเบาหวาน (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างองหมายเลข 9)   ท้าให้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะนั้น  (รูปที่ 1-5)
 ิ
                                                 ึ้
                         โดยปกติ AGEs สามารถเกิดขนได้ในภาวะปกติและเกิดได้มากขึ้นเมื่อมีภาวะระดับ
                                                                                          ิ่
                  น้้าตาลในเลือดสูง การสะสมของ AGEs ในเซลล์ต่าง ๆ ท้าให้หลอดเลือดผิดปกติ ท้าให้เพม
                      ั
                  การอกเสบของผนังหลอดเลือด หลอดเลือดเกิดการตีบแคบมากขึ้น มีเกล็ดเลือดมาจับกลุ่ม
                   ั
                  กน (platelet aggregation) เกิดการสร้างพังผืด (fibrosis) เพิ่มขึ้นที่ผนังหลอดเลือดทั่ว
                  ร่างกาย  ท้าให้ผนังหลอดเลือดเกิดการอุดตันหรือตีบตันมากขึ้น  โดยร่างกายพยายามสร้าง
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30