Page 33 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 33

20 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 21 | 21
                                                                       ู
                                                          ื
                                                          ้
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
                                                  ์
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                                       ้


 ตารางที่  1-4:  การแปลผลคะแนนความเสี่ยงของโรคเบาหวานชนิดที่  2  และขอแนะน้า
 ้
 ส้าหรับผู้ป่วย (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)

 ผลรวม  ความเสี่ยง  ระดับ   โอกาสเกิด  ข้อแนะน า
 คะแนน  ต่อเบาหวาน ความเสี่ยง  เบาหวาน
 ใน 12 ปี

 ≤ 2   < 5%   น้อย   1/20   -  ออกก้าลังกายสม่้าเสมอ
    -  ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
 -  ตรวจวัดความดันโลหิต
 -  ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 3 ปี
 3-   5-10%   ปานกลาง   1/12   -  ออกก้าลังกายสม่้าเสมอ
 5      -  ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
 -  ตรวจวัดความดันโลหิต
 -  ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1-3 ป  ี
 6-8   11-20%   สูง   1/7   -  ควบคุมอาหารและออกก้าลังกาย
 สม่้าเสมอ
 -  ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
 -  ตรวจวัดความดันโลหิต
 -  ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด
 -  ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1-3 ป  ี
 > 8   >20%   สูงมาก   1/3 – 1/4  -  ควบคุมอาหารและออกก้าลังกาย
                                ั
 สม่้าเสมอ         รูปที่ 1-6: การคดกรองโรคเบาหวานในผู้ใหญ่ (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)
 -  ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
 -  ตรวจวัดความดันโลหิต   1.  ผู้ที่มีอายุ ≥ 35 ปีขึ้นไป
 -  ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด   2.  ผู้ที่อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ม. ) และมีพ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง เป็นโรคเบาหวาน
                                               2
 -  ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1 ปี   3.  เป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือก าลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิต

                        4.  มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ (ระดับไตรกลีเซอไรด์ ≥ 250 มก./ดล. และ/หรือ HDL-C < 35
                           มก./ดล.)
                        5.  มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรน้ าหนัก > 4 กก.
                        6.  เคยพบว่าเป็น impaired glucose tolerance (IGT) หรือ impaired fasting glucose (IFG)
                        7.  มีโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease)
                        8.  มีกลุ่มอาการถุงน้ าในรังไข่ (polycystic ovarian syndrome)
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38