Page 32 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 32
20 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 21
ี
20 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
ื
้
์
้
ตารางที่ 1-4: การแปลผลคะแนนความเสี่ยงของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และขอแนะน้า
้
ส้าหรับผู้ป่วย (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)
ผลรวม ความเสี่ยง ระดับ โอกาสเกิด ข้อแนะน า
คะแนน ต่อเบาหวาน ความเสี่ยง เบาหวาน
ใน 12 ปี
≤ 2 < 5% น้อย 1/20 - ออกก้าลังกายสม่้าเสมอ
- ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 3 ปี
3- 5-10% ปานกลาง 1/12 - ออกก้าลังกายสม่้าเสมอ
5 - ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1-3 ป ี
6-8 11-20% สูง 1/7 - ควบคุมอาหารและออกก้าลังกาย
สม่้าเสมอ
- ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1-3 ป ี
> 8 >20% สูงมาก 1/3 – 1/4 - ควบคุมอาหารและออกก้าลังกาย
ั
สม่้าเสมอ รูปที่ 1-6: การคดกรองโรคเบาหวานในผู้ใหญ่ (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)
- ควบคุมน้้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์
- ตรวจวัดความดันโลหิต 1. ผู้ที่มีอายุ ≥ 35 ปีขึ้นไป
- ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด 2. ผู้ที่อ้วน (BMI ≥ 25 กก./ม. ) และมีพ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง เป็นโรคเบาหวาน
2
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้้าทุก 1 ปี 3. เป็นโรคความดันโลหิตสูงหรือก าลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิต
4. มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ (ระดับไตรกลีเซอไรด์ ≥ 250 มก./ดล. และ/หรือ HDL-C < 35
มก./ดล.)
5. มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรน้ าหนัก > 4 กก.
6. เคยพบว่าเป็น impaired glucose tolerance (IGT) หรือ impaired fasting glucose (IFG)
7. มีโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease)
8. มีกลุ่มอาการถุงน้ าในรังไข่ (polycystic ovarian syndrome)