Page 34 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 34
22 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 23
ี
22 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
้
์
้
ื
1.5 การวินิจฉัยโรคเบาหวาน และติดตามระดับน้้าตาลในเลือดทุกปี ผู้ที่มีภาวะ prediabetes กล่าวคือ ผู้ป่วยมีระดับ
น้้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ แต่ยังไม่จัดว่าเป็นโรคเบาหวาน ได้แก ่
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน ตามเกณฑ์ของสมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกา 1) มีค่า FPG 100-125 มก./ดล. วินิจฉัยว่าเป็นภาวะ impaired fasting glucose
ปี ค.ศ. 2021 สามารถเลือกท้าได้โดยวิธีใดวิธีหนึ่งใน 4 วิธี พร้อมการแปลผล (ตารางที่ 1- (IFG)
(11)
5) ดังต่อไปนี้ 2) มีค่า OGTT 140-199 มก./ดล. วินิจฉัยว่าเป็นภาวะ Impaired glucose
tolerance (IGT)
้
ั
1) การตรวจวัดระดับนาตาลในพลาสมาหลงอดอาหารอย่างน้อย 8 ชัวโมง (fasting 3) มค่า HbA1C 5.7-6.4% สามารถวินิจฉัยว่าเป็นภาวะ IFG และ IGT แต่ไม่แนะน้า
่
้
ี
plasma glucose; FPG) มีค่า ≥ 126 มก./ดล. (มก.%) เหมาะส้าหรับคนทั่วไปที่มาตรวจ ให้ใช้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในคนไทย เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง และต้องมั่นใจว่า
สุขภาพ หากผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของระดับน้้าตาลในเลือดสูง ต้องตรวจยืนยันผลอย่าง ใช้ห้องปฏิบัติการที่ไดมาตรฐาน
้
น้อย 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์
ตารางที่ 1-5: การแปลผลระดับพลาสมากลูโคสและ HbA1C เพื่อการวินิจฉัย (ดัดแปลง
ู
2) การตรวจความทนต่อกลโคส (oral glucose tolerance test; OGTT) ถ้าระดับ มาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 12)
พลาสมากลูโคส 2 ชั่วโมงหลังดื่มน้้าตาลกลูโคส 75 กรัม มีค่า ≥ 200 มก./ดล. ให้วินิจฉัย
่
ื
ว่าเปนโรคเบาหวาน วิธีนี้มีความไวกว่าวิธี FPG แต่ความจาเพาะต้า อาจคลาดเคลอนได้ Prediabetes โรคเบาหวาน
่
็
้
มักใช้ในงานวิจัย ปกติ IFG IGT
ี
3) Casual (random) plasma glucose ผทมอาการของโรคเบาหวานชัดเจน เช่น Fasting plasma glucose < 100 100-125 - ≥ 126
ี
ู
้
่
หิวน้้าบ่อย ปัสสาวะบ่อยครั้งและปริมาณมาก น้้าหนักตัวลดลงโดยไมทราบเหตผล (FPG) (มก./ดล.)
่
ุ
่
็
ี
้
้
สามารถตรวจ FPG เวลาใดกได้ ไมจาเปนต้องอดอาหาร ถามคา ≥ 200 มก./ดล. ให้ Oral glucose tolerance < 140 - 140-199 ≥ 200
็
่
วินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน test (OGTT) (มก./ดล.)
Causal (random) plasma - - - ≥ 200
4) ระดบ hemoglobin A1C (HbA1C หรือ glycosylated hemoglobin) ค่านี้บ่ง
ั
บอกถึงระดับน้้าตาลในเลือดเฉลี่ยในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา สามารถใช้ค่า HbA1C ในการ glucose (มก./ดล.) < 5.7 5.7-6.4
HbA1C
ติดตามการควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดของผู้ป่วย นิยมใช้กันมาก เพราะไม่จ้าเป็นต้องอด (% of total hemoglobin) ≥ 6.5
ี
่
ื
้
ั
อาหารกอนตรวจเหมอน FPG แต่ต้องตรวจวัดในหองปฏิบติการท่ได้มาตรฐาน นอกจากนี้
ั
ั
ยงสามารถใช้ค่า HbA1C ในการวินิจฉยโรคเบาหวานได้อีกด้วย ถ้ามีค่า ≥ 6.5% ให้ ค ค าย่อ: IGT; impaired glucose tolerance, IFG; impaired fasting glucose
อ
ย
:
่
า
็
วินจฉยว่าเปนโรคเบาหวาน ต้องตรวจยืนยันผลอย่างนอย 2 ครั้ง หากผู้ป่วยไม่มีอาการ
ั
้
ิ
แสดงของระดับน้้าตาลในเลือดสูง
ภาวะความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวาน (prediabetes) ที่ได้จากการตรวจคัดกรอง
โรค จัดเป็นการค้นหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้
ที่มีภาวะนี้ต้องได้รับค้าปรึกษาแนะน้าให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ (lifestyle
modification) ป้องกันโรคเบาหวาน โดยการควบคุมอาหารและออกก้าลังอย่างสม่้าเสมอ