Page 121 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 121

ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 109
 108 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 109
                                                                      ู
 ุ
                                                         ้
                                                 ์
                                                                      ้
                    โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั


                         มะรขี้นกเป็นผักพื้นบ้านที่ใช้กันมานานตั้งแต่สมัยโบราณ  ในแถบเอเชีย  อาฟริกา
 4.3.3  มะระขี้นก    และละตินอเมริกา ทางอายุรเวทใช้ผลของมะระขี้นกในการรักษาโรคเบาหวาน โรคตับ ข้อ

                  อักเสบ หรือ โรคเก๊าต์ พบได้ทั่วไปทุกภาคในประเทศไทย ลูกเล็กรูปร่างคล้ายกระสวย ผิว
                  เปลือกขรุขระและมีปุ่มยื่นออกมา ผลออนมีสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีเหลืองอมแดง  สารส้าคัญ
                                                  ่
                                                                     ่
                                                                     ึ
                  หลักของผลมะระขี้นกที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ charantin ซงเป็น steroidal saponins
                  โดยเป็นสารผสมระหว่าง β-sitosteryl glucoside และ 5,22 Stigmasteryl glucoside
                  ในอัตราส่วน 1:1 ซึ่งสูตรโครงสร้างทางเคมีคล้ายกับอินซูลิน ส่วนสารที่ท้าให้มะระขี้นกมีรส
                      ื
                  ขม คอ momordicosides, momordicins, karaviloside K1 และ charantoside  กลไก
                                                                                         ่
                  การออกฤทธิ์ของมะระขี้นกในการต้านเบาหวาน  ได้แก่  เพิ่มการหลั่งอินซูลินจากตับออน
                  เพิ่มความไวต่ออินซูลิน  ลดการผลิตน้้าตาลจากเซลล์ตับ  ยับยั้งการดูดซึมกลูโคสจาก
                  ทางเดินอาหาร เป็นต้น (44-46)

 ชื่อวทยาศาสตร์:    Momordica charantia L.          (44)
 ิ
                         การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์
 ชื่อวงศ์:                 Cucurbitaceae
                         ข้อมูลจากการศึกษาของผลสดมะระขี้นกใน Wistar rats โดยป้อนทางปากขนาด
 ชื่อสามัญ:   Bitter gourd, Bitter cucumber, Bitter melon, Balsam   5 มก./กก. ส่วนการฉีดให้ทางหลอดเลือดด้าขนาด 1.5 มก./กก. สารสกัดมะระขี้นกถูกดูด
 apple, Balsam pear, Leprosy gourd   ซึมผ่านทางเดินอาหารได้ไม่ดี มีค่าชีวประสิทธิผล 10.74% เมื่อตรวจเลือดพบ charantin


 ชื่อท้องถิ่น:               ผักไห่ ผักไส่ ผักเหย ผักไห ผักไซ มะไห่ มะนอย มะระเล็ก มะห่วย   ซึ่งเป็นสารส้าคัญในการลดระดับน้้าตาลในเลือดใน 24 ชั่วโมง ค่าครึ่งชีวิต 8.21 ชั่วโมง
 มะร้อยรู สุพะซู ผักสะไล    อาการข้างเคียงที่พบบอย
                                               (26)
                                            ่

 สารส าคัญ:   alkaloids, charantin, -momorcharin, -momorcharin,   ได้แก  ปวดท้อง  อุจจาระร่วง  อาเจียนเป็นเลือด  (hematemesis)  เลือดออกใน
                             ่
 momordicine, saponin, serotonin
                  กระเพาะอาหาร  ความดันโลหิตต่้า  อาจเนื่องมาจากการหลั่งสาร  cucurbitacin  ซึ่งเป็น
 ส่วนที่ใช้เป็นยา      สารพิษของมะระขี้นก หากผู้เคยมีประวัติปัญหาโรคแผลในทางเดินอาหารมาก่อน อาจต้อง
 ดอก:   แก้หอบหืด   รับประทานยายับยั้งการหลั่งกรดชนิด  proton-pump inhibitor (ได้แก่  omeprazole,

 ใบ:   ฟอกเลือด แก้โรคกระเพาะ แก้บิด ขับพยาธิ   pantoprazole) เพื่อป้องกันการเกิดแผลในทางเดินอาหาร
 ผล:   แก้ปากเปื่อย แก้หิด แก้ร้อนใน ขับพยาธิ ต้านเชื้อไวรัส ต้านมะเร็ง   ในการศึกษาในระดับคลินิกแบบ randomized, double-blinded, placebo-
 ลดระดับน้้าตาลในเลือด ฟอกเลือด ช่วยเจริญอาหาร
 เมล็ด:   ขับพยาธิตัวกลม   controlled trial ผู้ป่วยไทย T2DM กลุ่มได้รับยาหลอก 19 คน และกลุ่มที่รับประทานผล

 ั
 ราก:   แก้ริดสีดวงทวาร แก้ปวดฟน   มะระขี้นกแบบแห้ง 6 กรัมต่อวัน ซึ่งประกอบด้วย charantin 6.26 ± 0.28 มก. เป็นเวลา
                  16 สัปดาห์ ผลการศึกษา พบว่าหลังได้รับมะระขี้นกในสัปดาห์ที่ 8 และ 16 พบว่ามีระดับ
                                                                               ี
                                     ุ
                                     ่
                  HbA1C ลดลงกว่ากลมที่ได้รับยาหลอกอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ อกทั้งลดระดับ
                                                                       ็
                                                                    ึ
                                                              ื
                                                                                          ิ
                  advanced glycation end products (AGEs) ในเลอด ซ่งเปนสาเหตุของการเกด
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126