Page 117 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 117

ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 105
 104 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 105
                                                                      ู
 ุ
                                                         ้
                    โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                 ์
                                                                      ้


                         บัวบกจัดพชสมุนไพรที่มีต้นก้าเนิดในแถบเอเชีย เป็นพชล้มลุกขนาดเล็กที่มีกลิ่น
                                  ื
                                                                      ื
 4.3.2  บัวบก     ฉุน มีรสขมหวาน พบได้ทั่วไปในประเทศไทย ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่รู้จักกันดี คือ ช่วยเพม
                                                                                          ิ่

                  ความจ้าการเรียนรู้ รักษาโรคผิวหนัง แก้ร้อนในกระหายน้้า แต่ปัจจุบันบัวบกได้รับการ
                  ยอมรับมากขึ้นว่าสามารถลดระดับน้้าตาลในเลือดได้ด้วย สารส้าคัญหลักของใบบัวบกที่มี
                  ฤทธิทางชีวภาพ ไดแก asiatic acid, asiaticoside และ madecassoside ซึ่งจัดเป็น
                      ์
                                      ่
                                    ้
                  triterpenoid saponins
                                      (37)

                             ู
                         ข้อมลทางเภสัชจลนศาสตร์ของบวบก
                                                         (38)
                                                     ั

                         จากการศึกษาในหนูโดยใช้สารสกัดบัวบกมาตรฐาน  (ECa 233)  ซึ่งประกอบด้วย
                                          ่
                  สาร triterpenic acid ได้แก madecassoside (53.1 %) and asiaticoside (32.3 %)
                  เมื่อให้ทางปาก หรือ ทางหลอดเลือดด้า ในขนาด 50-200 มก./กก. พบว่าหนูมีความทนต่อ
                  สารทดสอบได้ดี ทั้ง madecassoside และ asiaticoside มีการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและ
 ชื่อวทยาศาสตร์:    Centella asiatica (L.) Urb.
 ิ
                  การกระจายตัวในรูปแบบที่คล้ายกัน  โดยมีการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เร็วมาก  เวลาที่ท้าให้
 ชื่อวงศ์:                 Apiaceae   ระดับความเข้มข้นสูงสุดในเลือดประมาณ 5-15 นาที หลังป้อนทางปาก สารส้าคัญทั้งสอง
                  ชนิดสามารถกระจายเข้าสู่สมอง กระเพาะอาหารและผิวหนังภายใน 1 ชั่วโมง และอยู่ใน
 ชื่อสามัญ:   American coinwort, Asiatic coinwort, Asiatic pennywort,   กระแสเลือดนาน 4 ชั่วโมง ก่อนขับออกในรูปเดิมทางอุจจาระ
 Barmi, Gotu kola, Indian pennywort, Indian water
 navelwort, Tiger herbal   ส่วนการศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ในมนุษย์  ได้ทดสอบโดยให้อาสาสมัครสุขภาพดี
                  จ้านวน 12 คน รับประทานสารสกัดใบบัวบกครั้งเดียวขนาด 30 มก. และ 60 มก. พบว่ามี
 ชื่อท้องถิ่น:               ปะหนะเอขาเด๊ะ ผักแว่น ผักหนอก   การดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ดี มีระดับ asiatic acid อยู่ในกระแสเลือด 4.5 ชั่วโมง และ 4.2

 สารส าคัญ:   Castilliferol, isochlorogenic acid, triterpene saponoside   ชั่วโมง ตามล้าดับ ค่าครึ่งชีวิต 2.2 ชั่วโมง ส้าหรับขนาด 30 มก. และ 3.4 ชั่วโมง ส้าหรับ

                                   ่
                  ขนาด 60 มก. แต่ไมพบ saponin หลังให้ยาภายใน 24 ชั่วโมง
 ส่วนที่ใช้เป็นยา
                                                         (26)
 ต้น/ใบ:   แก้ช้้าใน แก้ร้อนในกระหายน้้า แก้ทองเสีย รักษาแผลเปื่อย แผลไฟ  การศึกษาความเป็นพิษในสัตว์ทดลอง
 ้
 ไหม้น้้าร้อนลวก ขับปัสสาวะ ลดรอยเหี่ยวย่น ลดการอักเสบ บ้ารุง    พบว่าการป้อน asiaticoside ขนาด 1 ก./กก. ให้หนูแรทไม่ก่อให้เกิดพิษ แต่พบว่า
 สมอง บ้ารุงร่างกาย บ้ารุงหัวใจ   เมื่อฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อในหนูและกระต่าย ขนาด 40 - 50 มก./กก. อาจท้าให้ก่อมะเร็ง
 เมล็ด:   แก้บิด แก้ไข้ แก้ปวดศีรษะ
                  ผิวหนังได้
                           ส่วนการรายงานความเป็นพิษในมนุษย์   พบภาวะดีซ่านในผู้หญิงที่ใช้สารสกัด

                  บัวบกที่มีอายุ 61, 52 และ 49 ปี เป็นเวลา 30, 20 และ 60 วันตามล้าดับ อย่างไรก็ตามไม่

                  มีรายละเอียดเกี่ยวกับแผลในเนื้อเยื่อตับ  (hepatic lesion)  หรือภาวะตับอักเสบ  อาการ
                  ของผู้ป่วยดีขึ้นหลังหยุดรับประทานสารสกัดบัวบกและให้ยา ursodeoxycholic acid 10
                  มก./กก. ต่อวัน
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122