Page 119 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 119

ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 107
 106 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 107
 ุ
                                                                      ู
                                                 ์
                    โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                                      ้
                                                         ้


 ในด้านกลไกการออกฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดของบัวบกในหลอดทดลองและ  ตารางที่ 4-5: ตัวอย่างการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดของใบบัวบกในระดับคลินิก

 สัตว์ทดลอง ได้สรุปตัวอย่างในตารางที่ 4-4 ส่วนการศึกษาในระดับคลินิกได้สรุปตัวอย่าง  รูปแบบการศึกษา   การทดลอง / ผลการศึกษา
 ในตารางที่ 4-5

                                                                                ็
 ตารางที่ 4-4: ตัวอย่างการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดของใบบัวบกในหลอด  Randomized   ผู้ป่วย T2DM ที่มีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดขนาดเลก (diabetic
                                                                      ้
 ทดลองและสัตว์ทดลอง   controlled trial  microangiopathy) 50 คน ประกอบดวย กลุ่มควบคุม 10 คน
                                                        ้
                    (ระยะเวลา 6       (ไม่ได้รับยาใด ๆ) ไดรับยาหลอก 10 คน และได้รับ total
 รูปแบบการทดลอง   การทดลอง / ผลการศึกษา   เดือน)   triterpenic fraction ของใบบัวบก (TTFCA) ขนาด 60 มก. วัน
                                                                                 ึ
 ในหลอดทดลอง   สารสกัดใบบัวบกด้วยเอทนอล มีฤทธิ์ยับยั้ง -glucosidase ม ี  ละ 2 ครั้ง จ้านวน 30  คน นาน 6 เดือน ผลการศกษาพบว่า

 ค่า IC50 73.17 มคก./มล. แสดงให้เห็นว่าใบบัวบกมีส่วนช่วย  ผู้ป่วยที่ได้รับ TTFCA มีการบวมของข้อเท้าลดลง เนื่องจากมี
                                                            ั
 ลดระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร       การไหลเวียนเลือดขณะพกดีขึ้นและมีการผ่านเข้าออกของ
 (39)
                                      หลอดเลือดฝอย (capillary permeability) ลดลง
                                                                               (42)
 Swiss mice   เหนี่ยวน้าหนูเพศผู้ให้เป็นเบาหวานด้วย STZ จากนั้นปอนสาร
 ้
 สกัดใบบัวบกด้วยเมทานอลขนาด  50, 100, 200  และ  400   Prospective   ผู้ป่วยไทย T2DM ที่มีแผลที่เท้า ได้รับยาหลอก 84 คน ได้รับ
                                           ั
                                                                  ็
 มก./กก. จากนั้น 1 ชั่วโมงป้อนกลูโคส 2 ก./กก. แล้วเจาะเลือด  Randomized-  สารสกดใบบัวบกในรูปแช่เยือกแขง (freeze dry lyophilized)
 ี
 ึ
 ที่เวลา  120  นาที  ผลการศกษาพบว่าสารสกัดบัวบกมฤทธิ์ลด  controlled trial  จ้านวน 2 แคปซูล (50 มก.) วันละ 3 ครั้ง แล้วติดตามขนาดของ
                                                                  ี
                                                                                      ึ
 ระดับน้้าตาลในเลือดแปรผันตามขนาดใบบัวบก  คือ   29.4%,   แผลและการหายของแผลทุกวันท่ 7, 14 และ 21 ผลการศกษา
 32.8%, 33.6% และ 35.7% ตามล้าดับ โดยเปรียบเทียบกับยา  พบว่าระยะเวลาในการหายของแผลที่เท้าเร็วขึ้น และลดรอย
 รักษาเบาหวาน  glibenclamide  ที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่ง  แผลเป็นได้ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับยาหลอก ไม่พบอาการข้างเคียงใด
                                                  ี
 อินซูลิน 10 มก./กก. ซงลดระดับน้้าตาลในเลือดได้ 48.9%    ๆ ซึ่งบ่งชี้ว่ามความปลอดภัยในการใช้ใบบัวบกกับผู้ป่วย
 (40)
 ่
 ึ
                                      โรคเบาหวานที่มีแผลที่เท้า ซึ่งพบอุบัติการณ์ได้บ่อยครั้งในผู้ป่วย
 Sprague Dawley   เหนี่ยวน้าหนูให้เป็นเบาหวานด้วย  STZ  จากนั้นปอนสารสกัด  โรคเบาหวานที่มีความผิดปกติของเส้นประสาท
 ้
                                                                            (43)
 rat    ใบบัวบกด้วยเมทานอลขนาด 500 และ 1,000 มก./กก. โดย
 เปรียบเทียบกับกลุ่มทได้รับยารักษาเบาหวาน   metformin
 ี่
 300  มก./กก.  นาน  14  วัน  พบว่าสารสกัดใบบัวบกที่ความ
 เข้มข้น  500  มก./กก.  สามารถยับยั้งการท้างานของ  phos-

 phorfructokinase และ fructose 1,6- bisphosphatase ซง ึ ่
 ส้าคัญในกระบวนการเมแทบอลิซึมของไกลโคเจน  และกระตุ้น
 การน้ากลูโคสเข้าสู่กล้ามเนื้อ   ซึ่งได้ผลดีกว่าที่ความเข้มข้น
 1,000 มก./กก. และยา metformin
 (41)
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124