Page 209 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 209

นอกจากนี้ หากพบการทุจริตในหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และหน่วยงานภายในส านักงานคณะกรรมการอาหาร

                 และยา เช่น การเรียกรับทรัพย์สินโดยทุจริต ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ต าแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

                                                                                        18
                 กระท าการล่าช้ากว่าที่ก าหนดโดยไม่มีเหตุอันควร ผู้บริโภคก็สามารถร้องทุกข์ได้เช่นกัน
                        ผู้รับผิดชอบ: ฝ่ายประสานบริการเรื่องร้องเรียน สังกัด กลุ่มสารนิเทศและงานร้องเรียน กองพฒนา
                                                                                                          ั
                 ศักยภาพผู้บริโภค (กอง พศ.) ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                        ช่องทางการร้องทุกข์: ผู้บริโภคที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถร้องเรียนหรือแจ้ง

                 ข้อมูลโดยแจ้งชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้พร้อมรายละเอียดของเรื่องที่ต้องการร้องเรียนไปที่

                        1. โทรศัพท์ 02-590-7354-5 โทรสาร 02-591-8472

                        2. สายด่วนผู้บริโภคกับ อย.  โทรศัพท์ 1556 เมนูที่ 10 ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ครั้งละ 3 บาท ตลอด 24
                                               19
                 ชั่วโมง (จะมีเทปบันทึกข้อความ ในช่วงนอกเวลาราชการ)

                        3. จดหมายร้องเรียน ผ่านตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004


                        4. E-mail: [email protected]

                        5. ร้องทุกข์ด้วยตนเอง (หรือกรณีมีตัวอย่างมามอบให้)

                            o กรุงเทพฯ: ที่ฝ่ายประสานบริการเรื่องร้องเรียน กลุ่มสารนิเทศและงานร้องเรียนกองพฒนา
                                                                                                          ั
                 ศักยภาพผู้บริโภค ชั้น 6 อาคาร 5 ตึกส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี

                            o ต่างจังหวัด: ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด

                        เมื่อทราบผลการด าเนินการ กองพฒนาศักยภาพผู้บริโภคจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ร้องเรียนได้ทราบ ดังนั้นผู้
                                                     ั
                 ร้องเรียนจึงควรแจ้งชื่อ ที่อยู่หรือเบอร์โทรศัพท์ ที่สามารถติดต่อได้ นอกจากประโยชน์ในการแจ้งผลการ

                 ด าเนินการแล้วกรณีที่ข้อมูลไม่เพยงพอ หรือต้องการหลักฐานเพมเติม เจ้าหน้าที่สามารถติดต่อกับผู้ร้องได้โดยชื่อ
                                            ี
                                                                      ิ่
                 ที่อยู่ ดังกล่าวจะได้รับการเก็บรักษาเป็นความลับ

                        ส่วนกรณีผู้ร้องเรียนต้องการสินบนน าจับ ต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อกษรโดยมีเกณฑ์ก าหนดไว้ว่าเรื่องใด
                                                                                ั
                                                          20
                 จึงจะมีสินบนน าจับ ไม่ใช่ทุกเรื่องจะมีสินบนน าจับ และผู้ที่แจ้งความน าจับนั้น จะได้รับสินบนน าจับ ก็ต่อเมื่อคดีที่
                 แจ้งความนั้นถึงที่สิ้นสุดแล้วและผู้ถูกแจ้งความมีความผิดจริง ซึ่งบางเรื่องอาจใช้เวลานานเป็นปี ในกรณีที่ไม่มีการ





                        18 ที่มา: ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ท่านท าให้ประเทศไทยใสสะอาดได้. สืบค้น 18 กันยายน 2553 จาก

                 http://www.fda.moph.go.th/depart/FDAClear/clear.pdf
                        19 ที่มา: ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สายด่วนผู้บริโภคกับ อย. 1556. สืบค้น 18 กันยายน 2553 จาก
                 http://www.fda.moph.go.th/1556/
                        20 ที่มา: กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา. บริการรับเรื่องร้องเรียน กลุ่มบริโภคสัมพันธ์ ส านักงาน
                 คณะกรรมการอาหารและยา. สืบค้น 18 กันยายน 2553 จาก http://www.fda.moph.go.th/prac/complain/index.shtml.

                                                                                                           196
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214