Page 204 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 204

หน่วยงานอื่น อาจให้ความหมายของศัพท์ที่แตกต่างกันไปบ้าง เช่น ในส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีค า

                 ว่า การร้องเรียน และ การแจ้งความน าจับ โดย “การร้องเรียน” หมายถึง การแจ้งเบาะแสการกระท าความผิด

                 โดยที่ผู้แจ้งไม่ประสงค์จะได้รับเงินสินบนหรือเงินรางวัลเป็นการตอบแทน ส่วน “การแจ้งความน าจับ” นั้น เป็น
                 การแจ้งเบาะแสการกระท าความผิด โดยผู้แจ้งประสงค์จะได้รับเงินสินบนหรือรางวัลเป็นการตอบแทน


                                                                                                  ั
                        เนื้อหาในบทนี้ จึงจะใช้ค าว่า “ร้องทุกข์” เป็นหลักซึ่งหมายถึง บอกกล่าวถึงความทุกข์ อนสืบเนื่องจาก
                 การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือบริการสุขภาพ




                 11.2  การร้องทุกข์เป็น “สิทธิ” ของผู้บริโภค


                        ผู้บริโภคทุกคนสามารถด าเนินการร้องทุกข์ได้ หากถูกละเมิดสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของตน การร้องทุกข์เมื่อ
                                                                                                         ื่
                 ไม่ได้รับความเป็นธรรม จากการซื้อสินค้าหรือบริการ ถือเป็นเรื่องที่ชอบธรรมที่ผู้บริโภคควรกระท าเพอให้ผู้
                 ประกอบธุรกิจชดใช้ความเสียหาย และเพื่อเป็นการลงโทษหรือปรามมให้ผู้ประกอบธุรกิจเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค
                                                                          ิ
                      ื่
                 รายอน ๆ ต่อไป และกฎหมายได้ระบุสิทธิผู้บริโภคไว้ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไข
                 เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 57 (ดูรายละเอียดเรื่องสิทธิผู้บริโภคและสิทธิของผู้ป่วยในบทที่ 2)




                 11.3  ร้องทุกข์แล้วได้อะไร?


                        ประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับเนื่องจากการร้องทุกข์ มีดังนี้

                        1. แก้ไขปัญหาของตนเองให้ดีขึ้น ตามสิทธิของผู้บริโภคที่พึงกระท า

                                                                ื่
                        2. เป็นการส่งสัญญาณเตือนภัยไปยังผู้บริโภคอน ให้ทราบถึงความเสี่ยงและระมัดระวังในการใช้สินค้า
                 และบริการเหล่านั้นมากขึ้น

                        3. ผู้ประกอบการได้รับข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อน าไปปรับปรุงสินค้าและบริการให้ดียิ่งขึ้น


                        4. หนึ่งเสียงร้องทุกข์ของผู้บริโภคหลายคน จะรวมเป็นพลังของผู้บริโภค และเป็นเครื่องมือต่อรองกับ
                 ผู้ประกอบการได้


                        5. การแสดงพลังของผู้บริโภค น าสู่การแก้ไขกฎหมายและมาตรการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคได้
                 ท าให้เกิดนโยบายที่ดีในสังคม














                                                                                                           191
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209