Page 106 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 106

ื่
                         ผู้ที่จะใช้หรือซื้อวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทไปใช้เพอบรรเทาอาการเจ็บป่วยจะต้องได้รับการ
                  ตรวจวินิจฉัยจากแพทย์และมีใบสั่งยาจากแพทย์จึงจะสามารถซื้อวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทที่ 3 หรือประเภทที่ 4

                  ได้ตามกฎหมาย




                  4.8 สารระเหย

                         สารระเหยเป็นวัตถุเสพติดตามกฎหมาย ผลิตภัณฑ์สารระเหยมีฤทธิ์เสพติดจึงมักถูกน ามาใช้ในทางที่

                  ผิด ดังนั้นผลิตภัณฑ์สารระเหยจึงถูกจัดกลุ่มอยู่ในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ต้องควบคุมดูแลโดยส านักงาน

                  คณะกรรมการอาหารและยาภายใต้พระราชก าหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533

                         ค าจ ากัดความ

                         พระราชก าหนดป้องกันการใช้สาระเหย พ.ศ. 2533 (ราชกิจจานุเบกษา, 2533) ให้นิยาม “สาร

                  ระเหย” ว่าหมายถึง สารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศว่าเป็นสารระเหย ซึ่งผลิตภัณฑ์สารระเหยนี้จะ

                  ถูกดูแลโดย 2 หน่วยงาน คือ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ถูกประกาศโดย
                  รัฐมนตรีว่าการประทรวงสาธารณสุขและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอตสาหกรรม เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว
                                                                          ุ
                  ยาง และลูกโป่งวิทยาศาสตร์รวมถึงตัวท าละลายในผลิตภัณฑ์นานาชนิด เช่น สีพน กาววิทยาศาสตร์ น้ ายาล้าง
                                                                                    ่
                  เล็บ น้ ายาลบค าผิด


                         ประเภทและขอบเขตเพื่อการควบคุม

                         สารระเหย คือ สารประกอบอนทรีย์เคมีประเภทไฮโดรคาร์บอน ที่ได้มาจากน้ ามันปิโตรเลียมและก๊าซ
                                                  ิ
                  ธรรมชาติเป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิปกติลักษณะทางกายภาพ สารระเหยเกือบทุกชนิดเป็นของเหลว มี
                                                                                                   ี
                  กลิ่นเฉพาะตัว หรือกลิ่นหอมระเหยได้ดี มีความหนืดต่ าค่าแรงตึงผิวต่ า บางตัวติดไฟได้ เช่น โทลูอนเอธิลอะซี
                  เตทอะซีโตน และเมธิลเอธิลคีโตน เป็นต้น ส่วนมากมักไม่มีสี ใส ไม่มีตะกอน ค่าความดันไอต่อการละลายในน้ า

                  ได้ไม่ดี แต่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน

                         สารเคมีที่จัดเป็นสารระเหยตามกฎหมาย ได้แก  ่

                             o โทลูอีน
                             o อาซีโตน

                             o เมธิลเอธิลคีโตน
                             o ไอโซโปรปิลอาซีโตน

                             o เอธิลอาซีโตน

                             o เซลโลโซล์ฟอาซีเทต
                             o เมธิลอาซีเทต

                             o นอร์มาลบิวทิลอาซีเทต



                                                                                                             93
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111