Page 104 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 104
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้แบ่งยาเสพติดให้โทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
ได้แก ่
ี
ั
(1) ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอน แอลเอสดี แอมเฟตามีน และอนุพนธ์
ทั้งสิ้น 15 ชนิด เป็นต้น ตัวที่ส าคัญ คือ เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า) เมทิลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน หรือ
ี
MDMA (ยาอี) และเมทิลีนไดออกซแอมเฟตามีน หรือ MDA (ยาเลิฟ) เนื่องจากก าลังแพร่ระบาดอย่างรุนแรงใน
ปัจจุบัน มีบทลงโทษสูงสุดส าหรับผู้เสพผู้จ าหน่าย ผู้ครอบครอง น าเข้าและส่งออกยาเสพติดให้โทษประเภทนี้
ไม่ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แต่อย่างใด
ี
ี่
(2) ประเภทท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไปและยังมีการน ามาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ เช่น มอร์ฟน
ี
ื่
ี
โคเดอนโคเคอน ฝิ่นยา เมทาโดน เป็นต้น ถึงแม้ยาเสพติดให้โทษประเภทนี้สามารถน ามาใช้เพอประโยชน์ทาง
การแพทย์ได้แต่ก็มีฤทธิ์เสพติดและโทษมากดังนั้นต้องใช้ภายใต้ความควบคุมของแพทย์ และใช้ในเฉพาะกรณีที่
จ าเป็นเท่านั้น
(3) ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษทมีลักษณะเป็นต ารับยาและมียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่
ี่
ี
ด้วยและได้ขึ้นทะเบียนต ารับต่อส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้ว เช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอน ยาแก้
ท้องเสียผสมฝิ่นยา และที่ฉลากจะต้องมีข้อความว่า “ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 3” และ “ค าเตือน: อาจเสพ
้
ติดให้โทษได้ ไม่ควรใช้ติดต่อกันเกิน 7 วัน” และจะต้องมีเอกสารก ากับซึ่งมีคาเตือนและขอระวังการใช้
(4) ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 เช่น อาเซ
ติคแอนไฮไดรด์ที่อยู่ในอุตสาหกรรมสี อาเซติลคลอไรด์เออร์โกตามีน เออร์โกมีทริน เป็นต้น
ี่
(5) ประเภทท 5 ยาเสพติดให้โทษอื่น ๆ เช่น กัญชา และพืชกระท่อม
ผู้ที่จะซื้อยาเสพติดให้โทษเฉพาะประเภทที่ 3 ไปขายจะต้อง
(1) ได้รับ “ใบอนุญาตขายยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 3” จากส านักงานคณะกรรมการอาหารและ
ยา
(2) เป็นผู้ได้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันตามกฎหมายว่าด้วยยา
(3) มีเภสัชกรอยู่ประจ าการตลอดเวลาท าการ และ
(4) ต้องจัดท ารายงานประจ าเดือน รายงานประจ าปี แสดงการรับ-จ่าย ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่
3 ให้ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบ
เนื่องจากปัจจุบันมีการน ายาเสพติดให้โทษประเภทที่ 3 ที่มุ่งหมายให้ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ไปใช้
ในทางที่ผิด จึงถูกจ ากัดให้มีไว้เฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น
91