Page 107 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 107
o เซคันดารีบิวทิลอาซีเทต
o นอร์มาลบิวทิลไนไตรท์
o ไอโซ-บิวทิลไนไตรท์
o บิวทิลเซลโลโซล์ฟ
o เซลโลโซล์ฟ
o เมธิลเซลโลโซล์ฟ
ผลิตภัณฑ์ที่จัดเป็นสารระเหยตามกฎหมาย ได้แก ่
o ทินเนอร์
o แลคเกอร์
o กาวอินทรีย์สังเคราะห์
o กาวอินทรีย์ธรรมชาติ
o ลูกโป่งวิทยาศาสตร์
ตามกฎหมายแล้ว ห้ามมิให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุต่ ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ เว้นแต่เป็นการขาย
ื่
โดยสถานศึกษาเพอใช้ในการเรียนการสอน ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จัดหา หรือให้สารระเหยแก่ผู้ซึ่งตนรู้ว่าเป็นผู้ติด
ื่
สารระเหย ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบ าบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอน
ุ
ใด และห้ามมิให้ผู้ใดจูงใจ ชักน า ยุยงส่งเสริม หรือใช้อบายหลอกลวงให้ผู้อนใช้สารระเหยบ าบัดความต้องการ
ื่
ของร่างกาย หรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด
โดยสรุปผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้ง 8 ประเภท มีการให้นิยาม ค าจ ากัดความและก าหนดขอบเขตเพอการ
ื่
ควบคุมตามพระราชบัญญัติและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อาหารสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท ได้แก่ อาหาร
ควบคุมเฉพาะ อาหารที่ก าหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน อาหารที่ต้องมีฉลาก และอาหารทั่วไป ยามีทั้งยาแผน
ปัจจุบันและแผนโบราณซึ่งบ่งประเภทตามระดับความอนตรายและมีการควบคุมการซื้อขายที่แตกต่างกัน
ั
เครื่องส าอางมีประเภทเดียว คือ เครื่องส าอางควบคุม เครื่องมือแพทย์มีการควบคุม 3 ระดับ ได้แก่ เครื่องมือ
ี
แพทย์ที่ต้องได้รับใบอนุญาต เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายละเอยด และเครื่องมือแพทย์ทั่วไป วัตถุอนตราย
ั
แบ่งได้ 4 ประเภทตามระดับการควบคุมซึ่งการใช้ในครัวเรือนและทางสาธารณสุขอยู่หลายกลุ่ม ส าหรับวัตถุ
เสพติดตามกฎหมายมี 3 กลุ่มคือ ยาเสพติดให้โทษ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท และสารระเหย โดยยา
เสพติดให้โทษประเภทที่ 2 และ 3 และวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภทที่ 2 3 และ 4 นั้นเป็นกลุ่ม
วัตถุเสพติดทีมีมีการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ แต่สารระเหยไม่มีการใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ แต่อย่างไร
ื่
ก็ตามวัตถุเสพติดทั้งหมดต้องมีการควบคุมเพอป้องกันและลดปัญหาจากฤทธิ์ในการเสพติดและการน าไปใช้
ื่
ในทางที่ผิด ทั้งนี้การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้ง 8 กลุ่มประเภท เพอคุ้มครองสุขภาพของ
ผู้บริโภค สนับสนุนการสาธารณสุข และคุณภาพชีวิตของประชาชนในสังคม
94