Page 102 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 102

เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเราและใช้กันอยู่เป็นประจ าทุกวัน การคุ้มครองผู้บริโภคด้านวัตถุอันตรายเพื่อความปลอดภัย
                  ของผู้ใช้ คุณภาพมาตรฐานและประโยชน์จากผลิตภัณฑ์เหล่านี้


                         ค าจ ากัดความ

                                                                                          ั
                         ตามพระราชบัญญัติวัตถุอนตราย พ.ศ. 2535 (ราชกิจจานุเบกษา, 2535c) “วตถุอนตราย” หมายถึง
                                                                                             ั
                                               ั
                  วัตถุดังต่อไปนี้
                         (1)  วัตถุระเบิดได้

                         (2)  วัตถุไวไฟ
                         (3)  วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์

                         (4)  วัตถุมีพิษ

                         (5)  วัตถุที่ท าให้เกิดโรค
                         (6)  วัตถุกัมมันตรังสี

                         (7)  วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

                         (8)  วัตถุกัดกร่อน
                         (9)  วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

                         (10) วัตถุอย่างอน ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอนใด ที่อาจท าให้เกิดอนตรายแก่บุคคล สัตว์ พช
                                       ื่
                                                                                      ั
                                                                                                           ื
                                                                   ื่
                  ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
                         ประเภทและขอบเขตเพื่อการควบคุม

                         พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 แบ่งวัตถุอันตรายออกตามระดับการควบคุมออกเป็น 4 ชนิด

                  ดังนี้
                                                ั
                         (1)  ชนิดที่ 1 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้อง
                  ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด

                                                ั
                         (2)  ชนิดที่ 2 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้อง
                  แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดด้วย

                         (3)  ชนิดที่ 3 ได้แก วัตถุอันตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องรับ
                                          ่
                  ใบอนุญาต

                         (4)  ชนิดที่ 4 ได้แก่ วัตถุอนตรายที่ห้ามมิให้มีการผลิต การน าเข้า การส่งออก การน าผ่าน หรือการมี
                                                ั
                  ไว้ในครอบครอง


                         ประเภทของวัตถุอนตรายที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข ที่ต้องขอขึ้นทะเบียนต่อส านักงาน
                                         ั
                         คณะกรรมการอาหารและยา (กลุ่มงานพัฒนาบุคลากรและวิเทศสัมพันธ์, 2545) มีดังนี้






                                                                                                             89
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107