Page 99 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 99
5
ในพระราชบัญญัติยาได้ห้ามผลิต ขาย หรือน าหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาต่อไปนี้ ยาปลอม
ิ
7
6
ุ
ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคณภาพ ยาที่มิได้ขึ้นทะเบียนต ารับยา ยาที่ทะเบียนต ารับยาถูกเพกถอนส าหรับผู้รับ
อนุญาตผลิตยาและผู้รับอนุญาตให้น าหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร หรือยาที่ทะเบียนต ารับถูกยกเลิกเกิน 6
เดือน ส าหรับผู้รับอนุญาตขาย และยาที่รัฐมนตรีเพิกถอนทะเบียนต ารับยา
ผู้ที่จะขายยา (ยกเว้นยาสามัญประจ าบ้าน) จะต้องได้รับ “ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน” หรือ
“ใบอนุญาตขายยาแผนโบราณ” แล้วแต่ประเภทของยาที่จะขออนุญาตขาย จากส านักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา และมีเภสัชกรอยู่ประจ าการตลอดเวลาท าการ
4.3 เครื่องส าอาง
ื่
เครื่องส าอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้เพอตกแต่งร่างกาย เสริมความงาม หรือท าความสะอาดร่างกาย
ุ
ซึ่งผู้บริโภคมักจะได้รับข้อมูลและอทธิพลจากการโฆษณาในการอปโภคเครื่องส าอางที่เปรียบเสมือนสินค้าแห่ง
ิ
ความหวังของหลาย ๆ คน แต่อย่างไรก็ตามยังมีขาวเรื่องการปลอมปนสารต้องห้ามลงไปในเครื่องส าอางมาโดย
่
ตลอด ซึ่งทั้งผู้บริโภค เจ้าหน้าที่ และเครือข่ายต้องร่วมมือกันสอดส่องดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพชนิดนี้ร่วมกัน
ค าจ ากัดความ
“เครื่องส าอาง” ตามพระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พ.ศ. 2558 (ราชกิจจานุเบกษา, 2558) หมายความ
ว่า
(1) วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้ทา ถู นวด โรย พน หยอด ใส่ อบ หรือกระท าด้วยวิธีอนใดกับส่วน
่
ื่
ภายนอกของร่างกายมนุษย์ และให้หมายความรวมถึงการใช้กับฟันและเยื่อบุในช่องปาก โดยมีวัตถุประสงค์เพอ
ื่
ความสะอาด ความสวยงาม หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏ หรือระงับกลิ่นกาย หรือปกป้องดูแลส่วนต่าง ๆ
นั้น ให้อยู่ในสภาพดี และรวมตลอดทั้งเครื่องประทินต่าง ๆ ส าหรับผิวด้วย แต่ไม่รวมถึงเครื่องประดับและ
เครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภายนอกร่างกาย
(2) วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องส าอางโดยเฉพาะ หรือ
5 ยาปลอม ได้แก่ 1) ยาหรือวัตถุที่ท าเทียมทั้งหมดหรือแต่บางส่วนว่าเป็นยาแท้ 2) ยาที่แสดงชื่อว่าเป็นยาอื่น หรือแสดงเดือน ปี ที่ยาสิ้น
ึ่
ึ่
อายุ ซงมิใช่ความจริง 3) ยาที่แสดงว่าหรือเครื่องหมายของผู้ผลิตหรือที่ตั้งสถานที่ผลิตยา ซงมิใช่ความจริง 4) ยาที่แสดงว่าเป็นยาตามต ารับที่ขึ้น
ทะเบียนไว้ ซึ่งมิใช่ความจริง และ 5) ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานถึงขนาดที่ปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกว่าร้อยละ
ยี่สิบจากเกณฑ์ต่ าสุดหรือสูงสุด ซึ่งก าหนดไว้ในต ารับยาที่ขึ้นทะเบียนไว้
6 ยาผิดมาตรฐาน ได้แก่ 1) ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานโดยปริมาณหรือความแรงของสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินจากเกณฑ์ต่ าสุด
หรือสูงสุดที่ก าหนดไว้ในต ารับยาที่ขึ้นทะเบียนไว้ แต่ไม่ถึงขนาดดังกล่าวในยาปลอมข้อ 5 และ 2) ยาที่ผลิตขึ้นโดยความบริสุทธิ์หรือลักษณะอื่นซงมี
ึ่
ความส าคัญต่อคุณภาพของยาผิดไปจากเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในต ารับที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรือต ารับยาที่รัฐมนตรีสั่งแก้ไขทะเบียนต ารับยาแล้ว
7 ยาเสื่อมคุณภาพ ได้แก่ 1) ยาที่สิ้นอายุตามที่แสดงไว้ในฉลาก และ 2) ยาที่แปรสภาพจนมีลักษณะเช่นเดียวกันกับยาปลอมหรือยาผิด
มาตรฐาน
86