Page 103 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 103
(1) ผลิตภัณฑ์ป้องกัน ก าจัดแมลง เช่น ผลิตภัณฑ์ก าจัดยุง แมลงสาบ ปลวก ผลิตภัณฑ์ดับกลิ่นและ
ไล่แมลง เป็นต้น
(2) ผลิตภัณฑ์ก าจัดเห็บ หมัดในสัตว์ และก าจัดเหาในคน
(3) ผลิตภัณฑ์ก าจัดหนู
(4) ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคหรือก าจัดกลิ่นในสระว่ายน้ า
(5) ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรค เช่น สเปรย์ฆ่าเชื้อโรค ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคตามพื้น ตัววัสดุต่าง ๆ
(6) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ท าความสะอาดพื้นฝาผนัง เครื่องสุขภัณฑ์และวัสดุอื่น ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ล้างห้องน้ า
ผลิตภัณฑ์ล้างจาน
(7) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้แก้ไขในการอุดตันของท่อ
(8) ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว
(9) ผลิตภัณฑ์ซักแห้งผ้าหรือสิ่งทออื่น ๆ
(10) ผลิตภัณฑ์ลบค าผิดหรือสารละลายที่ใช้เจือจางผลิตภัณฑ์ลบค าผิด
(11) ผลิตภัณฑ์กาว
4.6 ยาเสพติดให้โทษ
สิ่งที่จัดเป็นวัตถุเสพติดตามกฎหมาย มี 3 ประเภท คือ ยาเสพติดให้โทษ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ
ประสาท และสารระเหยในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงยาเสพติดให้โทษ ซึ่งมีบางประเภทที่มีการใช้ประโยชน์ทาง
การแพทย์ แต่อย่างไรก็ตามยาเสพติดให้โทษเป็นสิ่งเสพติดที่ก่อให้เกิดปัญหาและความเสียหายทั้งทาง
สาธารณสุขและสังคม ดังนั้นจะต้องมีการควบคุมและก ากับดูแลการใช้อย่างรัดกุมและเข้มงวด
ค าจ ากัดความ
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (ราชกิจจานุเบกษา, 2522b) “ยาเสพติดให้โทษ”
หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบฉีด หรือด้วย
ิ่
ประการใด ๆ แล้วท าให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะส าคัญ เช่น ต้องเพมขนาดการเสพขึ้นเป็นล าดับ
มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพ
โดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงกบให้รวมตลอดถึงพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยา
ั
เสพติดให้โทษ และสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราช
ี
ี
กิจจานุเบกษา ตัวอย่างสิ่งที่จัดเป็นยาเสพติดให้โทษตามกฎหมาย เช่น เฮโรอน ฝิ่น กัญชา มอร์ฟน เมทาโดน
และสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ เช่น อาซิติคแอนไฮไดรด์
แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจ าบ้านบางต ารับตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่
เช่น ยาแก้ไอน้ าด า ขนาดบรรจุ 60 มิลลิลิตร
ประเภทและขอบเขตเพื่อการควบคุม
90