Page 101 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 101

(2)  อุปกรณ์เสริมส าหรับใช้ร่วมกับเครื่องมือแพทย์ตาม (1)
                                                                       ื่
                         (3)  เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องกล ผลิตภัณฑ์ หรือวัตถุอนที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดว่า เป็นเครื่องมือ
                  แพทย์
                             ผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายของสิ่งที่กล่าวถึงตาม (1) ซึ่งเกิดขึ้นในร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ ต้อง

                  ไม่เกิดจากกระบวนการทางเภสัชวิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน หรือปฏิกิริยาเผาผลาญให้เกิดพลังงานเป็นหลัก




                         ประเภทและขอบเขตเพื่อการควบคุม

                                                                  ื่
                         เครื่องมือแพทย์ในประเทศไทยสามารถจัดกลุ่มเพอการก ากับดูแลได้ 3 กลุ่มคือ เครื่องมือแพทย์ที่ต้อง
                  ได้รับใบอนุญาต เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายละเอียด และเครื่องมือแพทย์ทั่วไป ดังนี้

                         เครื่องมอแพทย์ที่ต้องได้รับใบอนุญาต เครื่องมือแพทย์ในกลุ่มนี้ ผู้ประกอบการผลิตน าเข้า หรือขาย
                                ื
                  จะต้องยื่นค าขออนุญาตผลิต น าเข้า ขายต่อส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่
                                                                                                    ี
                  1-3 (พ.ศ. 2533) โดยเครื่องมือแพทย์ดังกล่าวจะต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามที่กระทรวง (รายละเอยดกล่าวไว้
                  ในบทที่ 2)

                         เครื่องมอแพทย์ที่ต้องแจ้งรายการละเอียด เครื่องมือแพทย์ในกลุ่มนี้ ผู้ประกอบการผลิต น าเข้า หรือ
                                ื
                  ขายต้องแจ้งรายการละเอียดต่อเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (รายละเอียดกล่าวไว้ในบทที่ 2)

                         เครื่องมอแพทย์ทั่วไป เป็นเครื่องมือแพทย์ซึ่งไม่เข้าข่ายเครื่องมือแพทย์ที่ต้องได้รับใบอนุญาตหรือที่
                                ื
                  ต้องแจ้งรายการละเอียด แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันการน าเข้าเครื่องมือแพทย์กลุ่มนี้ต้องแสดงหนังสือรับรองการ

                  ขายเครื่องมือแพทย์ในประเทศผู้ผลิตซึ่งออกโดยราชการหรือสถาบันเอกชนที่ทางราชการของประเทศนั้น
                  รับรองและผ่านการตรวจสอบจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้วแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ

                  ด่านศุลกากร (รายละเอียดกล่าวไว้ในบทที่ 2)




                  4.5 วัตถุอันตราย

                                             ั
                         ปัจจุบันมีการใช้วัตถุอนตรายในบ้านเรือนและทางสาธารณสุขกันมากขึ้น เช่น น้ ายาล้างจาน
                  ผงซักฟอก ผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาว น้ ายาล้างห้องน้ า ยากันยุง สเปรย์ก าจัดแมลง ผลิตภัณฑ์ลบค าผิด เป็นต้น ซึ่ง







                                  (ง) ประคับประคองหรือช่วยชีวิต
                                  (จ) คุมก าเนิดหรือช่วยการเจริญพันธุ์
                                  (ฉ) ช่วยเหลือหรือช่วยชดเชยความทุพพลภาพหรือพิการ
                                  (ช) ให้ข้อมูลจากการตรวจสิ่งส่งตรวจจากร่างกาย เพื่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์หรือ การวินิจฉัย
                                  (ซ) ท าลายหรือฆ่าเชื้อส าหรับเครื่องมือแพทย์
                                                                                                             88
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106