Page 96 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 96
(7) โปแตสเซียมคลอเรต
(8) ฟอร์มาลดีไฮด์ และพาราฟอร์มาลดีไฮด์
(9) คูมาริน หรือ 1, 2-เบนโซไพโรน หรือ 5, 6-เบนโซ-แอลฟา-ไพโรน หรือ ซิส-ออร์โธ-คูมาริคแอซิด
แอนไฮไดรด์ หรือออร์โธ-ไฮดรอกซีซินนามิคแอซิดแลคโตน
(10) ไดไฮโดรคูมาริน หรือเบนโซไดไฮโดรไพโรน หรือ 3, 4-ไดไฮโดรคูมาริน หรือไฮโดรคูมาริน
(11) เมทธิลแอลกอฮอล์ หรือเมธานอล
(12) ไดเอทธิลีนไกลคอล หรือไดไฮดรอกซีไดเอทธิล อเธอร์ หรือไดไกลคอล หรือ 2, 2’-ออกซีบิส
ี
เอธานอล หรือ 2-2’-ออกซีไดเอธานอล
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ซึ่งจัดเป็นอาหารที่ก าหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ซึ่งส่วนใหญ่มีการให้ข้อมูล
และส่งเสริมการขายในเชิงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการบ าบัดรักษาและป้องกันโรค แต่มิได้ขอขึ้นทะเบียนเป็นยา
เหมือนดั่งผลิตภัณฑ์ยาที่มีข้อมูลทางวิชาการเชิงประจักษ์ในการยืนยันประสิทธิผลทางคลินิกอย่างชัดเจน ดังนั้น
จึงต้องให้ความส าคัญในการควบคุม การให้ข้อมูล และการคุ้มครองผู้บริโภคในเรื่องผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดย
ื่
ี
จะกล่าวถึงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและการควบคุมก ากับเพอคุ้มครองผู้บริโภคในรายละเอยดใน
บทที่ 5 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
4.2 ยา
ี
ื่
ยาเป็นอกหนึ่งปัจจัยส าคัญในการด ารงชีวิตและใช้เพอการรักษาโรค ถึงแม้เราจะไม่ได้บริโภคยาเป็น
ประจ าเหมือนการบริโภคอาหาร แต่ยาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีฤทธิ์ในการรักษา ท าลายเชื้อโรค และอาจมี
ผลข้างเคียงต่อสุขภาพและร่างกาย นอกจากนี้ยาเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการผลิต และ
การใช้ยาส่วนใหญ่มักต้องอยู่ภายใต้การดูแลของบุคลากรด้านสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์และเภสัชกร
ค าจ ากัดความ
ในปี 2510 ประเทศไทยได้ประกาศพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 (ราชกิจจานุเบกษา, 2550b) และมี
ิ่
การแก้ไขเพมเติมเป็นฉบับที่ 5 ในปี 2530 เป็นกฎหมายหลักในการควบคุมยาแทนพระราชบัญญัติการขายยา
พ.ศ. 2493 โดยในพระราชบัญญัติยา ให้นิยามและความหมายเกี่ยวกับยาไว้ ดังนี้
“ยา” หมายความว่า
(1) วัตถุที่รับรองไว้ในต ารายาที่รัฐมนตรีประกาศ
(2) วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้ในการวินิจฉัย บ าบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วย
ของมนุษย์หรือสัตว์
(3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งส าเร็จรูป หรือ
(4) วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระท าหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของ
มนุษย์หรือสัตว์
83