Page 109 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 109
บทท 5 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ี่
อิสรา จุมมาลี และ ธนพงศ์ ภูผาลี
ในยุคของข้อมูลข่าวสาร ผู้บริโภครับรู้ถึงข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการได้รวดเร็วมากกว่าแต่ก่อน
ตลอดจนมีสถานที่ในการจับจ่ายซื้อสินค้าได้หลายช่องทาง เช่น ร้านค้า การสั่งซื้อทางไปรษณีย์หรืออินเตอร์เน็ต
หรือแม้แต่ผ่านช่องทางการขายตรง ท าให้ง่ายต่อการเข้าถึงสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของ
ผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบันพบว่ามีการจ าหน่ายผลิตภัณฑเสริมอาหารอย่างแพร่หลายมากขึ้น โดยเฉพาะ
์
ื่
จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคในลักษณะขายตรงและมีการโฆษณาเพอส่งเสริมการขายที่ท าให้ผู้บริโภคเข้าใจว่า
จ าเป็นต้องรับประทาน หรือมีการโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณว่ามีผลในการป้องกันและรักษาโรค ซึ่งสิ่งนี้อาจมีผล
ท าให้ผู้บริโภคที่หลงเชื่อค าโฆษณาเหล่านั้น ละเลยการดูแลรักษาสุขภาพ และเสียโอกาสที่จะได้รับการรักษา
อย่างถูกต้อง ข้อเท็จจริงแล้วผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจัดเป็นอาหารไม่ใช่ยา จึงไม่มีสรรพคุณในการป้องกัน บ าบัด
ี่
หรือรักษาโรค และเป็นผลิตภัณฑส าหรับผู้บริโภคทมีสุขภาพร่างกายปกติไม่ใช่ผู้ป่วย และเป็นเพยงผลิตภัณฑ์ท ี่
ี
์
รับประทานนอกเหนือจากอาหารปกติส าหรับผู้บริโภคที่คาดหวังประโยชน์ทางด้านสุขภาพเท่านั้น ในบทเรียนนี้
ื่
จะน าเสนอความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในแง่มุมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค เพอให้ผู้บริโภค
สามารถน าความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่อไป
เนื้อหา
• ความหมายของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
• คุณภาพหรือมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
• ฉลากของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
• การโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
• บทก าหนดโทษ การป้องกันการถูกลวงจากโฆษณา
• ข้อแนะน าส าหรับการสร้างสุขภาพที่ดี
5.1 ความหมายของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
“ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร” (dietary supplement) (ราชกิจจานุเบกษา, 2548) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่
ื่
ใช้รับประทานนอกเหนือจากการรับประทานอาหารตามปกติ ซึ่งมีสารอาหารหรือสารอนเป็นองค์ประกอบอยู่
ื่
ในรูปแบบเม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลว หรือลักษณะอน ซึ่งมิใช่รูปแบบอาหารตามปกติ (conventional