Page 113 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 113
การที่ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารได้รับอนุญาตให้จ าหน่ายจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้ว
แสดงว่าส านักงานคณะกรรมการอาหารและยารับรองเฉพาะสรรพคุณตามที่ขออนุญาต ซึ่งก าหนดให้ระบุบน
ฉลาก ผู้บริโภคจึงควรศึกษารายละเอียดบนฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนทุกครั้ง ไม่ควรเชื่อจากการกล่าวอ้างของผู้ขาย
การพบเอกสารวิชาการ บทความ หรือคอลัมน์สุขภาพ เอยถึงสารเคมีหรือวัตถุดิบที่สกัดจากธรรมชาติ
่
ที่มีการกล่าวถึงการช่วยรักษาโรค หรือ ช่วยเปลี่ยนแปลงระบบการท างานภายในร่างกาย ตลอดจนช่วย
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย เช่น กล่าวว่าช่วยรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ช่วยลดน้ าหนัก ลดไขมัน
ส่วนเกิน หรือลดริ้วรอยปัญหาจุดด่างด าฝ้ากระบนใบหน้า ฯลฯ อาจท าให้ผู้บริโภคหรือผู้จ าหน่ายเชื่อมโยง
ข้อมูลด้วยตนเองจนก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน หรือความเชื่อที่ว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีสารนั้น
สามารถรักษา บรรเทาโรค หรือเปลี่ยนแปลงร่างกายตนเองได้ ซึ่งเป็นความเข้าใจไม่ถูกต้อง เนื่องจากปริมาณ
สารที่ออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารนั้นยังมีปริมาณไม่ถึงขนาดที่ใช้ในการป้องกัน บ าบัด รักษาโรค หรือ
เปลี่ยนแปลงระบบการท างาน ตลอดจนโครงสร้างร่างกายได้
การโฆษณาต้องแสดงข้อความหรือเสียงทางสื่อโฆษณาว่า “ไม่มีผลในการป้องกัน หรือรักษาโรค” โดย
ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (ราชกิจจานุเบกษา, 2551a)
(1) สื่อสิ่งพมพและอนเทอร์เน็ตที่ไม่มีเสียง ให้แสดงค าเตือนข้อความโฆษณาด้วยตัวอกษรที่มี สี
ิ
ิ
ั
์
รูปแบบ และขนาดที่อ่านได้ง่ายชัดเจน
(2) สื่อวิทยุกระจายเสียงให้แสดงค าเตือนในส่วนเสียงโฆษณาฟังได้ชัดเจนทุกพยางค์
ิ
(3) สื่อวิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภาพ ภาพยนตร์ และอนเทอร์เน็ตที่มีเสียง ให้แสดงค าเตือนส่วนเสียง
โฆษณาฟังได้ชัดเจนทุกพยางค์ หรือเป็นอักษรลอย (super) เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วินาที ข้อความค าเตือนต้อง
แสดงด้วยตัวอักษรที่มี สี รูปแบบ และขนาดที่อ่านได้ง่ายชัดเจน
ื่
ื่
(4) สื่ออน ๆ ที่ใช้เพอประโยชน์ทางการค้า ให้แสดงค าเตือนตามข้อ (1) หรือ (2) หรือ (3) ให้
เหมาะสม ตามแต่กรณี
5.5 บทก าหนดโทษ
การก ากับดูแลการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยลดปัญหาการถูกลวงจาก
โฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เป็นเท็จ หรือเกินจริงได้ในระดับหนึ่ง โดยข้อกฎหมายที่ก าหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 (ราชกิจจานุเบกษา, 2522c) นั้น มีมาตรการพจารณาโฆษณาและบท
ิ
ก าหนดโทษ ส าหรับผู้ฝ่าฝืน ดังนี้
(1) ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอนเป็นเท็จ ผู้ฝ่าฝืนต้อง
ั
ระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
(2) ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหาร ทางสื่อเผยแพร่ต่าง ๆ
อาทิ โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ ฯลฯ หรือด้วยวิธีอื่นใดเพอประโยชน์ทางการค้า ต้องน าเสียง ภาพ หรือข้อความที่
์
ื่
100