Page 238 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 238

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                       เลือดสูง (hyperchloremic) ไตเสื่อม เลือดเปนกรด (metabolic acidosis) เปนตน

                       อาจตองระวังการใชยากลุมนี้ในผูปวยที่จะเกิดอันตรายจากภาวะดังกลาว


                   3.5 prostaglandin analogues ไดแก latanoprost eye drop 0.005% (Xalatan )
                                                                                            ®
                       หยอดตาวันละครั้งกอนนอน

                       กลไกการออกฤทธิ์ ยากลุมนี้จะเขาจับ prostaglandin F receptor (PTGF2R) หรือ
                       prostaglandin E receptor (PTGER 1-4) เพมการไหลออกของน้ําผาน uveoscleral
                                                             ิ่
                                                                        
                       outflow เปนยาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาตอหินมุมเปดไดดีกลุมหนึ่ง ยาใหมคือ
                                                                 
                       NO-donating prostaglandin analogues ไดแก latanoprostene bunod ไดขน
                                                                                            ึ้
                                                                   ิ่
                       ทะเบียนในป ค.ศ. 2017 สําหรับรักษาตอหินโดยเพมเติมฤทธิ์ของ NO ที่จะชวยเพิ่ม
                       ระดับ cAMP ทําใหกลามเนื้อเรียบของ trabecular meshwork คลายตัวจึงเพิ่มการ

                       ไหลของน้ําในดวงตาผานทางบริเวณนี้ไดดวย นอกจากนี้ NO ยังมีผลทําใหหลอดเลือด
                              ิ่
                       ขยายเพมเลือดไปเลี้ยงขั้วประสาทตาจึงอาจมี neuroprotective effect ดวย
                       (Storgaard et al., 2021)
                       ผลขางเคียง พบบอยคือ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเยื่อบุตาอักเสบและขยายตัว
                           
                                                                          ั
                                                         
                       (conjunctival hyperemia) สีมานตาเขมขึ้นถาวร มานตาอกเสบรุนแรง เลนสลอก
                       หลุด ที่พบไมบอยคือ จอประสาทตาบวมน้ํา ผิวหนังรอบดวงตาสีเขมขึ้น (periocular
                                                                               
                       pigmentation)


                   3.6 osmotic agents ไดแก mannitol (20% IV ให 1-1.5 กรัม/น้ําหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม),

                       glycerol (50, 70% orally ให 1-2 กรัม/น้ําหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม)

                       กลไกการออกฤทธิ์ เปน hyperosmotic agents ที่ชวยลดปริมาตร vitreous humor
                       ลง 3-4% ของ osmotic gradient ระหวางเลือดและเนื้อเยื่อในดวงตา เปนกลุมยาที่จะ

                       ใชในระยะเวลาสั้น ๆ ในภาวะฉุกเฉิน เชน ตอหินมุมปดเฉียบพลัน เปนตน

                       ผลขางเคียง ปวดศีรษะ ขาดน้ํา เจ็บหนาอก แพยา ควรระวังการใชในผูปวยโรคหัวใจ ผู
                       มีภาวะขาดน้ํา โรคไต นอกจากนี้ glycerol อาจตองระวังในผูปวยเบาหวานดวย





                                                   ~ 217 ~
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243